Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6542
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ สามัคคีธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรมย์รวินท์ กลิ่นศรีสุข, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-20T06:07:20Z-
dc.date.available2023-06-20T06:07:20Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6542-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำในบริหารการ จัดการนํ้าชลประทานของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาชัณสูตร (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วม ของผู้ใช้นํ้าในบริหารการจัดการน้ำชลประทานของโครงการส่งนํ้าและบำรุงรักษาชัณสูตร (3) เปรียบเทียบ การมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำในบริหารการจัดการน้ำชลประทานของโครงการส่งนํ้าและบำรุงรักษาชัณสูตร และ (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำในการบริหารจัดการนํ้าชลประทาน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ สมาชิกกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทานจำนวน 17,353 ราย โดยสุ่มแบบชั้นภูมิ ได้กลุ่มตัวอย่าง 390 ราย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ (1) ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุด และค่าสูงสุด (2) วิเคราะห์ระดับการมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำใช้การทดสอบค่าที (3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยวิธีถดถอยเชิง พหุแบบขั้นตอน และ (4) วิเคราะห์ความแตกต่างใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และหาความ แตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ ผลการวิจัย พบว่า (1) การมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำในการบริหารจัดการน้ำชลประทานใน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำในการบริหารจัดการน้ำทุก ขั้นตอน พบว่า ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์ 5 ตัวแปร และ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) การ เปรียบเทียบความแตกต่างการมีส่วนร่วมในด้านการบริหารจัดการน้ำในภาพรวม พบว่าการมีส่วนร่วม ระหว่างฝายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 1-7 แตกต่างกัน โดยผู้ใช้น้ำฝายส่งน้ำที่ 3 มีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการนํ้าชลประทานมากที่สุด (4) ปัญหาด้านการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้ำ พบว่า ผู้ใช้น้ำขาด การวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ปัญหาการกำหนดระเบียบ กระบวนการ และ วิธีดำเนินกิจกรรมการบริหารจัดการน้ำและบำรุงรักษา และมีปัญหาด้านการเสนอแนะเพื่อแก้ไขปรับปรุง การบริหารจัดการน้ำและการบำรุงรักษา ทั้งนี้ผู้ใช้น้ำได้เสนอแนะให้เจ้าหน้าที่ชลประทานต้องสอบถาม เกษตรกรว่าพื้นที่ต้องการน้ำช่วงเดือนใด และควรมาดูแลควบคุมการจัดรอบเวร โดยแบ่งปันให้คนท้าย น้ำบ้าง ตลอดจนควรซ่อมถนนชลประทานให้อยู่ในสภาพที่ดีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectชลประทาน -- การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของผู้ใช้น้ำในการบริหารจัดการน้ำชลประทาน : กรณีศึกษาโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาชัณสูตร จังหวัดสิงห์บุรีth_TH
dc.title.alternativeWater users' participation in irrigation water management : a case study of the Channasute Operation and Maintenance Project in Sing Buri Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study was : (1) to study the water users participation level, (2) to study the factors influencing the water users participation. (3) to compare tile water users participation, and (4) to study the water users problems and suggestions on the water users participation in irrigation management. The population in this study were 17,353 water users who were water user group members. 390 samples were selected by using stratified random sampling methodology. The instrument used was questionnaires. The statistic used to analyze the data by computer programs were (1) frequency, percentage, mean, minimum value, maximum value, and standard deviation, (2) t- test analysE for analyzing the water users participation level, (3) stepwise multiple regression analysis for analyzing the relationship, and (4) One - way analysis of Variance (One - way ANOVA) for analyzing the differences, and finding the differences ii pairs by using Scheffe Method. The findings of this study were as follows: (1) the overall water users' participation in irrigation water management in every process was at “much” level, (2) as for the factors influencing that water users participation in irrigation management, it was found that there were 5 independent variables at .05 statistical significance, (3) as for the comparison of the participation in overall irrigation management, it was found that there was a difference water users among Operation and Maintenance Branch 1 through 7, the Operation and Maintenance Branch 3 had participated in tile irrigation management the most of all, and (4) as for the problems on participation in the irrigation management, it was found that the lack of water analysis approach to resolve problems that arise, issue regulations defining the process and how water management activities and maintenance, and a recommendation to issue the updated water management and maintenance. The water users have suggested that officials should ask the agricultural which months they need the water and should monitoring to take care by providing to the people at the end of canal and aEo should repairer the irrigation road to the good conditionen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
120942.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons