Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6558
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รังสรรค์ ประเสริฐศรี | th_TH |
dc.contributor.author | ธนาศิลป์ เสี้ยวทอง, 2513- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-20T07:43:42Z | - |
dc.date.available | 2023-06-20T07:43:42Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6558 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน (3) เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชน และ (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องที่ระดับหมู่บ้าน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกผู้ใหญ่บ้านในเขตอำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จำนวน 32,839 คน โดยสุ่มแบบบังเอิญ ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 ราย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ (1) ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุด และค่าสูงสุด (2) วิเคราะห์ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนใช้ t – test (3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยวิธีถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน และ (4) วิเคราะห์ความแตกต่างใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และหาความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ ผลการวิจัย พบว่า (1) การมีส่วนร่วมของประชาชนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกขั้นตอน พบว่า ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์ 5 ตัวแปร มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ ความพึงพอใจของประชาชน การส่งเสริมและสนับสนุนจากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ความรู้ความเข้าใจของประชาชน การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ และผลประโยชน์ที่ได้รับจากการปกครองท้องที่ (3) การเปรียบเทียบความแตกต่างของการมีส่วนร่วมของประชาชนตามตำบลต่างๆ ในภาพรวม พบว่า ประชาชนในตำบลเจ๊ะเห ตำบลพร่อน ตำบลไพรวัน ตำบลเกาะสะท้อน และตำบลโฆษิต มีส่วนร่วมในการปกครองท้องที่ระดับหมู่บ้านแตกต่างจากประชาชนในตำบลศาลาใหม่ โดยประชาชนในตำบลเจ๊ะเห มีส่วนร่วมมากที่สุด (4) ปัญหาด้านการมีส่วนร่วมในการปกครองท้องที่ระดับหมู่บ้าน พบว่า ประชาชนไม่ให้ความสำคัญต่อการมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง ผู้นำหมู่บ้านไม่เปิดโอกาศให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานของรัฐไม่ให้ความสำคัญต่อการมีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการอย่างจริงจัง ประชาชนไม่มีความรู้และขาดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และหมู่บ้านขาดความเข้มแข็ง ทั้งนี้ประชาชนได้เสนอแนะให้หน่วยงานราชการและผู้เกี่ยวข้องควรกระตุ้นให้ประชาชนหันมาให้ความสำคัญต่อการมีส่วนร่วมมากขึ้น ผู้นำหมู่บ้านควรเปิดโอกาศให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง และประชาชนควรมีส่วนร่วมในการประชุมประชาคม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.73 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การปกครองท้องถิ่น--การมีส่วนร่วมของประชาชน | th_TH |
dc.title | การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องที่ระดับหมู่บ้าน : กรณีศึกษาอำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส | th_TH |
dc.title.alternative | People's participation in the local-village level administration : a case study of Takbai District, Narathiwat Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.73 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were: (1) to study the level of people’s participation (2) to study factors influencing people’s participation (3) to compare the people’s participation, and (4) to study problems and proposals of people’s participation in the Local – Village Level Administration. The population of this research is people who have the right to choose headman in Tak Bai district. Narathiwat province of 32,839 people, with a sample of 400 people, selected by the accidental sampling method. The instrument of the research was questionnaires. The statistic used in the data analysis were: (1) frequency, percentage, mean, minimum value, maximum value, and standard deviation; (2) t – test analysis for analyzing the level of participation (3) Stepwise Multiple Regression Analysis for analyzing the relationship; and (4) analysis of the difference is one-way analysis of variance. And the difference in pairs was carried out by using Scheffe Method. It was found from the study that: (1) the overall of people’s participation in the local – village level administration was found at the high level; (2) analyzing the factors influencing people’s participation was that independent variables were correlated with five variables with a statistical significance at .05 level; (3) compassion of the difference of people’s participation from Sub district; Sub Jehae, Sub Pron, Sub Priwan, Sub Kohsaton and Sub Khosit: were differ from Sub Salamai. The people in Sub Jehae were as a most level; and (4) the problem of the participation in the Local – Village Level Administration were as follows: The people did not realize the participation seriously. The leaders of the village were not up the chance for public extensively. People lack of knowledge and relevant information. And the villages are not strong. This is to suggest that the government should encourage people to be aware more participation. More chance for participation should be opened up by the leaders of the village. And people should participate more in community meetings | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สมศักดิ์ สามัคคีธรรม | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
122006.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License