Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6567
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุนันทา กาหยี, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-20T08:15:04Z-
dc.date.available2023-06-20T08:15:04Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6567-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) เปรียบเทียบปัญหาเกี่ยวกับความพร้อมใน การบริหารจัดการระหว่างเทศบาลตำบลห้วยยอดกับเทศบาลตำบลนาวงในอำเภอห้วยยอด จังหวัด ตรัง ตามแนวทางการปฏิบัติราชการตามคำรับรองของหน่วยงาน และ (2) เปรียบเทียบการพัฒนา ความพร้อมในการบริหารจัดการระหว่างเทศบาลตำบลห้วยยอดกับเทศบาลตำบลนาวงในอำเภอ ห้วยยอด ตามแนวทางการปฏิบัติราชการตามคำรับรองของหน่วยงาน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้ง ผ่านการหาค่าความเที่ยงตรง และความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.88 สำหรับกลุ่ม ตัวอย่างได้แก่ ประชาชนในเขตพื้นที่ของเทศบาลตำบลห้วยยอด 586 คน และเทศบาลตำบลนาวง 534 คน รวม 1,120 คน เก็บรวบรวมแบบสอบถามกลับคืนมาได้ 999 ชุด คิดเป็นร้อยละ 89.19 ของ แบบสอบถามทั้งหมด สำหรับสถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ ทดสอบค่าที ผลการศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นระหว่างกลุ่มตัวอย่างของเทศบาลตำบลทั้ง 2 แห่ง พบว่า ไม่แตกต่างกัน กล่าวคือ (1) ปัญหาที่สำคัญ คือ เทศบาลตำบลทั้ง 2 แห่งขาดความพร้อม ในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการควบคุม และการตรวจสอบการปฏิบัติตาม แผน และ (2) การพัฒนาที่สำคัญ คือ เทศบาลตำบลทั้ง 2 แห่งควรกำหนดเป็นนโยบาย รวมทั้ง มาตรการที่ชัดเจน และต่อเนื่องในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการควบคุม และ การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.66en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเทศบาลตำบล -- การบริหารth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleการเปรียบเทียบความพร้อมในการบริหารจัดการระหว่างเทศบาลตำบลห้วยยอดกับเทศบาลตำบลนาวง ในอำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ตามแนวทางการปฏิบัติราชการตามคำรับรองของหน่วยงานth_TH
dc.title.alternativeComparison of management administration readiness between the Huai Yot and the Nawong Subdistrict Municipalities in Huai Yot District of Trang Province according to the performance agreement of agency guidelineth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research we to study and to (1) compare problems of the readiness of administration between the Huai Yot and the Nawong Subdistrict Municipalities in Huai Yot District of Trang Province according to the Performance Agreement of Agency Guideline; and (2) compare development of administration readiness between the Huai Yot and the Nawong Subdistrict Municipalities in Huai Yot District according to the Performance Agreement of Agency Guideline. This research was a survey research using questionnaires which passed pre-test including validity and reliability checks at 0.88 level. The total sampling group of 1,120 people were divided into 586 and 534 people of in the areas of the Huai Yot and the Nawong Subdistrict Municipalities respectively. The 999 sets of questionnaire were collected which equal to 89.19 % of the total samples. Statistics were percentage, mean, standard deviation, and t-test. The comparative study results showed that of the both subdistrict municipalities’ opinions were indifferent, namely (1) the main problem was the lack of readiness in opening opportunities for people participation in controlling and checking the implementation of plan; and (2) the main development was the both subdistrict municipalities should establish the explicitly and continuity of plan and measure in terms of opening opportunities in controlling and checking the implementation of planen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
122008.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons