Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6580
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรรณพ จีนะวัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.author | จุฬาลักษณ์ แสนทวี, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-20T08:51:30Z | - |
dc.date.available | 2023-06-20T08:51:30Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6580 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 และ (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 จำแนกตามเพศ และประสบการณ์ในตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 316 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารความ ขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่า (1) พฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านที่อยู่ในระดับมากได้แก่ การใช้พฤติกรรมการร่วมมือการประนีประนอม และการเอาชนะ ด้านที่อยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ การใช้พฤติกรรม การยอมให้ และด้านที่อยู่ในระดับน้อย ได้แก่ การใช้พฤติกรรมการหลีกเลี่ยง และ (2) ผู้บริหารสถานศึกษาเพศชาย และเพศหญิงมีพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสบการณ์ในตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาแตกต่างกันมีพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.title | การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 | th_TH |
dc.title.alternative | Conflict management of school administrators under Samut Prakan Primary Education Service Area Office 2 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to study conflict management behaviors of school administrators under Samut Prakan Primary Education Service Area Office 2; and (2) to compare conflict management behaviors of school administrators under Samut Prakan Primary Education Service Area Office 2 as classified by gender and work experience as school administrator. The research sample consisted of 316 school administrators and teachers in schools under Samut Prakan Primary Education Service Area Office 2 during the 2018 academic year, obtained by stratified random sampling. The employed research instrument was a questionnaire on conflict management of school administrators. The employed statistics for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the overall conflict management behavior of school administrators under Samut Prakan Primary Education Service Area Office 2 was rated at the high level; when specific conflict management behaviors were considered, the behaviors receiving rating means at the high level were the uses of cooperation behavior, compromising behavior, and winning behavior; the behavior receiving rating mean at the moderate level was the use of submissive behavior; and the behavior receiving rating mean at the low level was the use of avoidance behavior; and (2) male and female administrators differed significantly in their conflict management behaviors at the .05 level of statistical significance; while no significant difference was found between conflict management behaviors of school administrators with different work experiences as school administrator | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_161608.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License