Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6582
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิสมัย เสือเฒ่า, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-20T08:55:39Z-
dc.date.available2023-06-20T08:55:39Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6582-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษา (1) ปัญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนของสำนักงานประจำศาลจังหวัดหนองคาย (2) แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนของสำนักงานประจำศาลจังหวัดหนองคาย และ (3) ภาพรวมของแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนของสำนักงานประจำศาลจังหวัดหนองคาย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้งการหาค่าความเที่ยงตรง และความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.95 สำหรับกลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานประจำศาลจังหวัดหนองคาย และประชาชนผู้รับบริการในเขตพื้นที่ของสำนักงานประจำศาลจังหวัดหนองคาย 1,110 คน เก็บรวบรวมแบบสอบถามกลับคืนมาได้ 1,009 ชุด คิดเป็นร้อยละ 90.90 ของแบบสอบถามทั้งหมด สำหรับสถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที นอกจากนี้ ยังมีการสัมภาษณ์แนวลึกเฉพาะผู้เชี่ยวชาญอีกด้วย ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัญหาสำคัญ คือ สำนักงานประจำศาลจังหวัดหนองคายไม่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการประเมินผลการปฏิบัติงานให้บริการประชาชนของข้าราชการของสำนักงานประจำศาลจังหวัดหนองคาย (2) แนวทางการพัฒนาที่สำคัญ คือ ผู้บริหารระดับสูงของสำนักงานประจำศาลจังหวัดหนองคาย ควรให้ความสำคัญและกำหนดเป็นนโยบายที่ชัดเจนและต่อเนื่องในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการประเมินผลการปฏิบัติงานให้บริการประชาชนของข้าราชการของสำนักงานประจำศาลจังหวัดหนองคาย และ (3) ภาพรวมของแนวทางการพัฒนาที่สำคัญ คือ ในปัจจุบัน สำนักงานประจำศาลจังหวัดหนองคาย มีแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนที่มีแนวโน้มคำนึงถึงความต้องการของประชาชนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากกว่าในอดีตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานประจำศาลจังหวัดหนองคาย -- การบริหารth_TH
dc.subjectสำนักงานประจำศาลจังหวัดหนองคาย -- การบริการสังคมth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนของสำนักงานประจำศาลจังหวัดหนองคายth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of management administration guidelines regarding people services of the administration office of Nongkhai Provincial Courtth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main objectives of this study are to study (1) problems of management dministration regarding people services of the Administration Office of Nongkhai Provincial Court, (2) development guidelines of management administration regarding public services of the Administration Office of Nongkhai Provincial Court, and (3) overview of development guidelines of management administration regarding public services of the Administration Office of Nongkhai Provincial Court. This study was a survey research using questionnaires which passed pre-tested including validity check and reliability check at 0.95 level. Samples of 1,110 were (1) officers and employees of the Administration Office of Nongkhai Provincial Court, and (2) people obtained services in the areas of the Administration Office of Nongkhai Provincial Court. The 1,009 sets of questionnaire were collected, equal to 90.90 % of the total samples. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, and t-test. Moreover, in-dept interview of experts was also employed. The study results showed that (1) the major problem was the Office of Nongkhai Provincial Court has not provide any opportunity for people to participate in performance evaluation; (2) the major development guideline was the chief executive of the Office of Nongkhai Provincial Court should emphasize and establish the explicit and continuous policy of opening the opportunities for people to participate in performance evaluation; and (3) the major overview of development guideline was the Office of Nongkhai Provincial Court, at present, provided the development guideline of management administration regarding public services of tending to consider the needs of people especially the opening opportunities for people to participate more than the pasten_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
122013.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons