Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6586
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิรัช วิรัชนิภาวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | พิมพ์พิศา จิ้วเจริญกุล, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-21T00:22:59Z | - |
dc.date.available | 2023-06-21T00:22:59Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6586 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษา (1) ปัญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการ เพื่อให้บริการประชาชนของสำนักงานอัยการจังหวัดสุราษฎร์ธานี (2) การพัฒนาการบริหารจัดการเพื่อให้บริการประชาชนของสำนักงานอัยการจังหวัดสุราษฎร์ธานี และ (3) แนวโน้มการบริหารจัดการเพื่อให้บริการประชาชนของของสำนักงานอัยการจังหวัดสุราษฎร์ธานี การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้งผ่านการหาค่าความเที่ยงตรง และความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.95 สำหรับกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ประชาชนผู้รับบริการของสำนักงานอัยการจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 1,009 คน เก็บรวบรวม แบบสอบถามคืนมาได้ 919 ชุด คิดเป็นร้อยละ 91.08 ของแบบสอบถามทั้งหมด สำหรับสถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที นอกจากนี้ ยังมีการสัมภาษณ์แนวลึกเฉพาะผู้เชี่ยวชาญอีกด้วย ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัญหาสำคัญ คือ สำนักงานอัยการจังหวัดสุราษฎร์ธานีไม่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรเพื่อให้บริการประชาชนมากเท่าที่ควร (2) การพัฒนาที่สำคัญ คือ สำนักงานอัยการจังหวัดสุราษฎร์ธานีควรกำหนดเป็นนโยบายที่ชัดเจน และต่อเนื่องในเรื่องการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรเพื่อให้บริการประชาชน และ (3) แนวโน้มการบริหารจัดการที่สำคัญ คือ การกำหนดบุคลากรที่รับผิดชอบในการควบคุม และการตรวจสอบคุณภาพของบุคลากรเพื่อให้บริการประชาชนไว้อย่างชัดเจน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.70 | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สำนักงานอัยการจังหวัดสุราษฎร์ธานี--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | สำนักงานอัยการจังหวัดสุราษฎร์ธานี--บริการสังคม | th_TH |
dc.title | การพัฒนาและแนวโน้มการบริหารจัดการเพื่อให้บริการประชาชนของสำนักงานอัยการจังหวัดสุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Development and trends of management administration for serving the people of the provincial public prosecution office of Surat Thani | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.70 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The main objectives of this study are to study (1) problems of management administration to serve the services to the people of the Provincial Public Prosecution Office of Surat Thani, (2) development of management administration to serve the services to the people of the Provincial Public Prosecution Office of Surat Thani, and (3) trends of management administration to serve the services to the people of the Provincial Public Prosecution Office of Surat Thani. This study was a survey research using questionnaires which were passed pre-test and validity checks of and reliability at 0.95 level. The total of 1,009 clients or people of the Provincial Public Prosecution Office of Surat Thani were used as sampling group. The 919 sets of questionnaire were collected which equal to 91.08% of the total samples. Statistics were percentage, mean, standard deviation, and t-test. The in-depth interview of experts was also applied. The study results showed that (1) the main problem was the Provincial Public Prosecution Office of Surat Thani emphasized insufficiently on the quality development of the officers serving the people; (2) the important development was the Provincial Public Prosecution Office of Surat Thani should establish the clarity and continuity of policy emphasized on the quality development of the officers serving the people; and (3) the important trend of management administration was the explicit assignment of specific officers responsible for controlling and checking the quality of the officers serving the people. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ศิรินทร์ ธูปกล่ำ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
122014.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License