Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6589
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.author | สุนีย์รัตน์ กิตติกาญจนรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-21T01:07:31Z | - |
dc.date.available | 2023-06-21T01:07:31Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6589 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อศึกษา (1) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการนำระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารมาใช้ ในการผ่านพิธีการศุลกากรนำเข้า ณ สำนักงานศุลกากรท่าเรือกรุงเทพ (2) ระดับความสำเร็จของการนำระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารมาใช้ ในการผ่านพิธีการศุลกากรนำเข้า ณ สำนักงานศุลกากรท่าเรือกรุงเทพ (3) สภาพปัญหาและเสนอแนะแนวทางต่าง ๆ ในการที่จะปรับปรุงให้การใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสาร ด้านพิธีการศุลกากรนำเข้า ณ สำนักงานศุลกากรท่าเรือกรุงเทพ เกิดผลสำเร็จ ประชากร คือ เจ้าหน้าที่ศุลกากรที่ปฏิบัติงานที่สำนักงานศุลกากรท่าเรือกรุงเทพ จำนวน 438 คน เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 210 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า (1) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จการนาระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารมาใช้ในการผ่านพิธีการนาเข้า ณ สำนักงานศุลกากรท่าเรือกรุงเทพ คือ ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ ได้แก่ นโยบายและกลยุทธ์ระบบภายในองค์การ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ งบประมาณ ประชาสัมพันธ์ การติดตามประเมินผล และภาวะผู้นำ ปัจจัยด้านบุคลากร ได้แก่ ความรู้ความเข้าใจ บทบาทเจ้าหน้าที่ ทัศนคติ และการมีส่วนร่วม ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ได้แก่ การมีส่วนร่วมของประชาชน วัฒนธรรมองค์กร/ค่านิยมร่วม และการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่น (2) ระดับความสำเร็จของการนาระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารมาใช้ในการผ่านพิธีการนำเข้า ณ สำนักงานศุลกากรท่าเรือกรุงเทพ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยประเด็นเกี่ยวกับสำนักงานศุลกากรท่าเรือกรุงเทพสามารถอำนวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการโดยทั่วถึงเท่าเทียมกันและยุติธรรม กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่ามีระดับความสำเร็จอยู่ในระดับมากโดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ระดับ 3.41 (3) สภาพปัญหาและเสนอแนะแนวทางต่าง ๆ ในการที่จะปรับปรุงให้การใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารเกิดผลสำเร็จ ปัญหาด้านบริหารจัดการ ได้แก่ กฎระเบียบ และระบบงาน ควรกำหนดกฎระเบียบโดยจัดทำเป็นคู่มือการปฏิบัติงานไว้อย่างชัดเจน จัดหาเทคโน โลยีสารสนเทศที่ทันสมัย ผลักดันพิธีการนำเข้า-ส่งออกให้เข้าสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารอย่างเต็มรูปแบบ ปัญหาด้านบุคลากร ได้แก่ ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ ควรให้ข้าราชการที่ปฏิบัติงานผ่านพิธีการนำเข้าด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารได้เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ และวิธีการทำงานเป็นทีม สร้างจิตสำนึกที่ดีต่อผู้ประกอบการ มีความสุจริต และปัญหาด้านสภาพแวดล้อม ได้แก่ การร่วมงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้ความร่วมมือกันแก้ไขปัญหาและดำเนินการไปในแนวทางเดียวกัน ตลอดทั้งมีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สำนักงานศุลกากรท่าเรือกรุงเทพ | th_TH |
dc.subject | อิเล็กทรอนิกส์ | th_TH |
dc.subject | การสื่อสารข้อมูล | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการนำระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารมาใช้ในการผ่านพิธีการนำเข้า ณ สำนักงานศุลกากรท่าเรือกรุงเทพ | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting the success of implementing e-customs system in customs procedures at Bangkok Port Customs Bureau | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of the study were (1) to explore factors affecting the success of implementing e-Customs system in customs procedures at Bangkok port Customs Bureau (2) to identify the success rates of implementing e-customs: customs procedures at the Bangkok port Customs Bureau (3) to examine problems or difficulties and their resolutions for the development of implementing e-Customs: Customs Procedures at the Bangkok port Customs Bureau Population in the study was 438 Customs officers working at Bangkok Port Customs Bureau. Samplers were 210 Customs officers. Data were collected via questionnaires and analyzed with frequencies, percentage, average mean, standard deviation, stepwise regression and correlation coefficient. The result of the study revealed that (1) Factors Affecting the Success of Implementing e-customs System in Customs Procedures at Bangkok Port Customs Bureau are administration which policy and strategy, internal system, information technology system, budgeting, public relations, evaluation and leadership. human resource which knowledge and understanding, roles, attitude and staff participation. and environment which citizen participation, organization culture/shared values and cooperation with other organizations. (2) The success rates of Implementing e-Customs: Customs Procedures at the Bangkok Port Customs Bureau were in medium level on entrepreneur service facilitation radical, equal, and fair. Samplers found the high level of achievement 3.41 in average mean. (3) Problems and resolution to the development of Implementing e-Customs were administration factor which disciplines and regulations are needed to be revised, operational handbook should be clearly provided.Updated Information Technology System should be provided. Promote the customs procedure system into this complete e-paperless. For the human resource factor, officers’ responsibility who are in charged of e-paperless, should learn more new technology, and team working. Enhance good conscious mind and integrity to entrepreneurs. Also, for the environment factor, having supports and cooperation from related organizations is necessary. Participation in operation needs to be concordant. Olso, having the ongoing public relation is necessary. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
122099.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License