Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/662
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคลth_TH
dc.contributor.authorสุกัญญาภัคภ์ ขูขุนทด, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T06:37:04Z-
dc.date.available2022-08-17T06:37:04Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/662-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถประสงค์ศึกษา (1) พัฒนาการทางการเมืองภาคประชาชนของชุมชน คลองด่าน อำเภอบางบ่อจังหวัดสมุทรปราการ (2) รูปแบบการเคลื่อนไหวทางการเมืองภาคประชาชนของชุมชนคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ (3) ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินรูปแบบการเคลื่อนไหวทางการเมืองภาคประชาชนของชุมชนคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ผลการวิจัย พบว่า (1) พัฒนาการทางการเมืองภาคประชาชนของชุมชนคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ มาจากการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านการก่อสร้างโครงการบ่อนำบัดน้ำเสียโดยเกิดจากจิตสำนึกรักชุมชน รองลงมา ได้แก่ ความไม่โปร่งใสของโครงการ การปกปิดข้อมูล/ บิดเบือนข้อมูลและการให้ข้อมูลที่เป็นเท็จกับประชาชน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเคลื่อนไหว ได้แก่ ปัจจัยภายในประกอบด้วย ความเป็นชุมชนเก่าแก่ วิถีชีวิตของชุมชน วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมของชุมชน ปัจจัยภายนอก ได้แก่ การร่วมมือกันทุจริตของนักการเมืองระดับประเทศ การหวังผลประโยชน์ของกลุ่มเอกชน และการนำงบประมาณแผ่นดินไปใช้อย่างมีเงื่อนงำ (2) รูปแบบการเคลื่อนไหวทางการเมืองภาคประชาชนของ ชุมชนคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ได้แก่ การร้องทุกข์ (3) ปัญหา อุปสรรคในการ ดำเนินรูปแบบการเคลื่อนไหวทางการเมืองภาคประชาชนของชุมชนคลองด่าน ได้แก่ 1) การที่รัฐบาลไม่มี ความตั้งใจดีจะดำเนินคดีกับผู้กระทำผิดอย่างจริงจัง 2) ฝ่ายรัฐบาลหรือฝ่ายนายทุนมุ่งใช้ความรูนแรงกับ ประชาชนที่เคลื่อนไหวต่อต้านการก่อสร้างโครงการบ่อบำบัดน้ำเสีย 3) ความไม่เข้าใจและการวางเฉยของ กลุ่มคนในสังคมที่ไม่เดือดร้อน 4) ประชาชนขาดจิตสำนึกทางการเมือง และขาดแคลนทุนสนับสนุนใน การเคลื่อนไหวต่อด้านการก่อสร้างโครงการบ่อบำบัดนำเสียth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.18-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมือง -- ไทยth_TH
dc.titleการเมืองภาคประชาชน : กรณีศึกษาชุมชนคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeCitizen politics : a case study of Khlong Dan Community , Bang Bo District Samut Prakan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.18-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) the development of civil politics in Khlong Dan Community, Bang Bo District, Samut Prakan Province; (2) the form of the civil politics movement in Khlong Dan Community; and (3) problems and obstacles to the civil politics movement in Khlong Dan Community. This was a qualitative research. The sample, chosen through purposive sampling, consisted of 3 movement leaders and 15 members of the Khlong Dan Community in Bang Bo District, Samut Prakan Province. Data were collected using guided interviews and analyzed through content analysis. The results showed that: (1) the development of civil politics in this case study arose from people’s opposition to a proposed waste water treatment project. The primary cause was consciousncss/love of community, followed by lack of transparency in the waste water treatment project, concealing and distortion of information, and untruths that were disseminated to the public. The factors that affected the movement were internal factors (the age of the community, the people’s way of life, the culture and environment of the community) and external factors (conspiracy to commit acts of dishonesty by national level politicians, benefits desired by private sector investors, and the suspicious use of government funds). (2) The civil politics movement in the Khlong Dan Community took the form of a grievance. (3) The obstacles to the development of civil politics were 1) lack of commitment by the government to persecute wrongdoers; 2) use of force by the government or investors against people who opposed the building of the waste water treatment plant; 3) lack of understanding and apathy on the part of people who were not directly affected by the project; and 4) lack of political consciousness and lack of funds to support the movement.en_US
dc.contributor.coadvisorฐปนรรต พรหมอินทร์th_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
124344.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons