Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6649
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนงค์นุช เพียรขุนทด, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-21T08:21:30Z-
dc.date.available2023-06-21T08:21:30Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6649-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการดำเนินงานการบริหารเชิงกลยุทธ์ของ องค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครราชสีมา (2) เปรียบเทียบการดำเนินงานการบริหารเชิงกล ยุทธ์ขององค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดนครราชสีมา โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาแนวทางในการปรับปรุงการดำเนินงานการบริหารเชิงกลยุทธ์ขององค์การบริหารส่วนตำบล ในจังหวัดนครราชสีมา ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัด นครราชสีมา จำนวน5,970 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 375 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบด้วยค่าทีและ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า(1) องค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครราชสีมา มีการ ดำเนินงานการบริหารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยรายด้าน ได้แก่ การวิเคราะห์ สถานการณ์ การกำหนดกลยุทธ์ การดำเนินกลยุทธ์ และการควบคุมและประเมินกลยุทธ์ พบว่า อยู่ ในระดับมาก (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ เงินเดือน ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการ ปฏิบัติงาน และประเภทบุคลากรไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นต่อการดำเนินงานการบริหาร เชิงกลยุทธ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครราชสีมา และ (3) แนวทางในการปรับปรุง การดำเนินการบริหารเชิงกลยุทธ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครราชสีมา มี 3 ประการ ได้แก่ ควรจัดการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มความรู้ ความเข้าใจให้กับสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล เกี่ยวกับเรื่องการจัดทำแผนพัฒนาตำบลควรจัดกิจกรรมเพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่พนักงาน ส่วนท้องถิ่นควรมีการศึกษาถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมจากการดำเนินงานด้านต่างๆ ขององค์การบริหารส่วนตำบลและส่งเสริมความร่วมมือกันเพื่อสร้างความสามัคคีภายในชุมชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหารth_TH
dc.titleการบริหารเชิงกลยุทธ์ขององค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeStrategic Administration of Sub-district Administrative Organizations Nakhon Ratchasima Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the practice level of strategic administration of sub-district administrative organizations in Nakhon Ratchasima province; (2) to compare the practice levels of strategic administration of sub-district administrative organizations Nakhon Ratchasima province as classified by personal factors; and (3) to study guidelines for improvement of the practice of strategic administration of sub-district administrative organizations in Nakhon Ratchasima province. The research population comprised of 5,970 personnel in sub-district administrative organizations in Nakhon Ratchasima province. The research sample consisted of 375 personnel selected from the above-mentioned sub-district administrative organizations. A questionnaire was employed as the instrument for data collection. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test and one-way analysis of variance for hypothesis testing. Research finding showed that (1) the overall practice of strategic administration of sub-district administrative organizations in Nakhon Ratchasima province was at the high level; when the practice in each aspect was considered, the practices in the aspects of situation analysis, strategy determination, strategy practice, and strategy control and evaluation were at the high level; (2) the personal factors of gender, age, monthly salary, educational qualification, employment duration, and personnel category had no relationship with the opinion toward the practice of strategic administration of sub-district administrative organizations in Nakhon Ratchasima province; and (3) there were three guidelines for improvement of the practice of strategic administration of sub-district administrative organizations in Nakhon Ratchasima province, namely, in-service training should be organized to increase knowledge and understanding of members of the Sub-District Administrative Organizations Council concerning preparation of plans for sub-district development; activities should be organized to promote the morale of local organization personnel; and there should be studies on the possible impacts of the operation of sub-district administrative organizations on the environment and cooperation should be promoted to create unity among the people within the communityen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
125050.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons