Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6656
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพลศักดิ์ บุญเกิด, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-21T08:46:38Z-
dc.date.available2023-06-21T08:46:38Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6656-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาวิเคราะห์การจัดการความรู้ของเรือนจำกลาง นครศรีธรรมราช ในด้านความเข้าใจในการจัดการความรู้ การกำเนิดความรู้ การจัดเก็บความรู้ การแบ่งปัน ความรู้ การนำความรู้ไปใช้ การสนับสนุนของผู้บริหาร เทคโนโลยี วัฒนธรรมองค์กร และด้านการ ประเมินผล (2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการความรู้ของเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช (3) ศึกษาปัญหา การจัดการความรู้ของเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช (4) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการความรู้ของ เรือนจำกลางนครศรีธรรมราช ประชากรในการวิจัยครั้งนี้คือ บุคลากรของเรือนจำ กลางนครศรีธรรมราชทุกคน ประกอบด้วยข้าราชการ พนักงานราชการและลูกจ้าง รวมทั้งหมดจำนวน 217 คน เครื่องมือที่ใช้เป็น แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าถดถอยเชิงพหุ และการทดสอบค่าที ในส่วนของข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การ วิเคราะห์เนื้อหาโดยการวิเคราะห์สรุปข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า (1) การจัดการความรู้ภายในเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช โดยรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง มีการดำเนินการด้านความเข้าใจในการจัดการความรู้อยู่ในระดับมากที่สุด และ ดำเนินการในด้านการแบ่งปันความรู้อยู่ในระดับน้อยที่สุด (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการความรู้ของ เรือนจำกลางนครศรีธรรมราช โดยมีผลทำให้การจัดการความรู้ของเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช มีมากขึ้น คือปัจจัยด้านการกำเนิดความรู้ การสนับสนุนของผู้บริหาร วัฒนธรรมองค์กร ความเข้าใจในการจัดการ ความรู้ และด้านการแบ่งปันความรู้ ตามลำดับ (3) ปัญหาในการจัดการความรู้ของเรือนจำกลาง นครศรีธรรมราช ที่สำคัญคือ การขาดการสนับสนุนจากผู้บริหาร บุคลากรขาดความสนใจใฝ่รู้ และ วัฒนธรรมขององค์กรยังไม่เอื้อต่อการจัดการความรู้ (4) แนวทางในการพัฒนาการจัดการความรู้ของ เรือนจำกลางนครศรีธรรมราช คือ ผู้บริหารควรเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลงโดยสนับสนุนในทุกขั้นตอน ของกระบวนการจัดการความรู้ ควรดำเนินการให้บุคลากรทุกคนเห็นความสำคัญและเข้ามามีส่วนร่วมใน การจัดการความรู้ และควรเร่งสร้างวัฒนธรรมในการสนใจใฝ่รู้และนำความรู้มาพัฒนาการทำงานร่วมกัน จึงจะทำให้การจัดการความรู้ของเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช ประสบความสำเร็จth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเรือนจำกลางนครศรีธรรมราชth_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.titleการพัฒนาการจัดการความรู้ของเรือนจำกลางนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of knowledge management of Nakhon Si Thammarat Central Prisonth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to (1) analyze knowledge management of Nakhon Si Thammarat Central Prison in aspects of understanding of knowledge management, knowledge generation, store of knowledge, knowledge sharing, knowledge utilization, support of executives, organization culture, technology and evaluation (2) study factors affecting the knowledge management of Nakhon Si Thammarat Central Prison (3) study problems of knowledge management of Nakhon Si Thammarat Central Prison (4) study the ways to develop knowledge management of Nakhon Si Thammarat Central Prison. Populations in this research were all 217 staff of Nakhon Si Thammarat Central Prison comprising civil services, and employees. Research instrument were questionnaires and interviews. The statistics used in analyzing quantitative data were percentage, frequency, mean, standard deviation, multiple regressions and t-test. For qualitative data analysis, content analysis were utilized. The research found that: (1) Overall knowledge management of Nakhon Si Thammarat Central Prison were in moderate level. In aspects of understanding of knowledge management were in the highest level and in aspects of knowledge sharing were in the lowest level. (2) Factors affecting knowledge management of Nakhon Si Thammarat Central Prison in terms of more affective knowledge management were knowledge generation, support of executives, organization culture, understanding of knowledge management and knowledge sharing respectively. (3) Problems of knowledge management of Nakhon Si Thammarat Central Prison were lacking of support from executives, less in being interested in learning of staff, and organization culture was still not conducive to knowledge management. (4) Guideline for knowledge management development of Nakhon Si Thammarat Central Prison were that the executives should lead the change by supporting entire steps of knowledge management process, promote all staff to involve in knowledge management, and create learning culture for the staff which would make knowledge management of Nakhon Si Thammarat Central Prison successfulen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
125482.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons