Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6657
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธรรมนูญ ยิ้มละมัย-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-21T08:47:35Z-
dc.date.available2023-06-21T08:47:35Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6657-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษาระดับปัจจัยด้านแรงงานสัมพันธ์ ปัจจัยด้าน กฎหมายแรงงานสัมพันธ์และปัจจัยด้านบุคคล (2) ศึกษาระดับความสำเร็จในการแก้ไขข้อพิพาทแรง งาน (3) เปรียบเทียบความสำเร็จในการแก้ไขข้อพิพาทแรงงานจำแนกตาม เพศ อายุ การศึกษา ตำแหน่งงานและ รายได้ (4) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการแก้ไขข้อพิพาทแรงงาน (5) เสนอแนะแนวทางการ พัฒนาในการแก้ไขข้อพิพาทแรงงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ เจ้าหน้าที่แรงงานของส่วนราชการจังหวัดระยองจำนวน 10 คน และผู้บริหาร / พนักงานที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงงานอุตสาหกรรมจังหวัดระยอง 387 คน รวม 397 คน โดยการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยวิธีของยามาเน่ และใช้การสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบ สัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ได้แก่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันและ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง เดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยทางด้านแรงงานสัมพันธ์,ปัจจัยทางด้านกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ ,ปัจจัยทางด้านบุคคล อยู่ในระดับปานกลาง (2) ระดับความสำเร็จในการแก้ไขข้อพิพาทแรงงานอยู่ในระดับ ปานกลาง (3) ความสำเร็จในการแก้ไขข้อพิพาทแรงงานตามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเมื่อจำแนกตาม เพศ การศึกษา ตำแหน่งงาน และรายได้ มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 (4) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการแก้ไขข้อพิพาทแรงงานในภาพรวม ปัจจัยด้านแรงงานสัมพันธ์สามารถ พยากรณ์ ความสำเร็จในการแก้ไขข้อพิพาทแรงงานได้ร้อยละ 32.5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 และเมื่อพิจารณารายได้พบว่าปัจจัยด้านความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างสามารถพยากรณ์ ความสำเร็จในการแก้ไขข้อพิพาทแรงงานได้ร้อยละ 35.6 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.5 (5) แนวทางในการพัฒนาในการแก้ไขข้อพิพาทแรงงานคือ ด้านรัฐบาล ควรเสริมสร้างความรู้เข้าใจด้านแรงงานสัมพันธ์แก่ นายจ้างและลูกจ้างในการปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมาย ปรับปรุงวิธีการทำงานของเจ้าหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพเสริมสร้าง ด้านนายจ้างจะต้องดำเนินการจัดค่าจ้าง /สวัสดิการให้เหมาะสม ส่งเสริมให้มีการแรงงานสัมพันธ์ ด้านลูกจ้างต้องปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทำงานโดยเคร่งครัด ลูกจ้างจะต้องให้ ความร่วมมือในการเจรจาเมื่อมีข้อพิพาทแรงงานเกิดขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.201-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectแรงงาน--ไทย--ระยองth_TH
dc.subjectข้อพิพาทแรงงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการแก้ไขข้อพิพาทแรงงานจังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting success in the labor dispute Rayongth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.201-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study level of labor relations, labor relations law and personal factors (2) study success level in labor dispute solving (3) compare the success in labor dispute solving classified by gender, age, education, job position and income (4) study factors affecting the success in labor dispute solving (5) recommend development guideline of labor dispute solving. The samples of 397 in this research consisted of 10 personnel working in Labor section of Rayong provincial office, and 387 executives / employees working in Rayong industrial factories. Sample size was determined via Yamane method. Stratification sampling method was also applied. Instrument used was questionnaire and interview.. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, Pearson’s correlation coefficient, multiple regression analysis, and .one-way analysis of variance. The research result revealed that (1) labor relations, labor relations law and personal factors were in medium level (2) success level in labor dispute solving was in medium level (3) when compared the success in labor dispute solving classified by gender, age, education, job position and income; difference with 0.5 level of statistical significance was found (4) as for factors affecting the success in labor dispute solving in the overall view, it was found that labor relations factor could forecast the success in labor dispute solving at 32.5 percent with 0.5 level of statistical significance, when considered income, it was found that relationship between employers and employees could forecast the success in labor dispute solving at 35.6 percent with 0.5 level of statistical significance (5) development guideline were: the government should support employers and employees with knowledge and understanding on labor relations, which would lead to their conformity, personnel performance should be improved to be more efficient, employers should provide appropriate wages and benefits, while promote labor relations in the organizations, employees should strictly comply with rules and regulations, and should cooperate in negotiation when labor dispute occurreden_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
112135.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons