Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6665
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์th_TH
dc.contributor.authorช่อผกา พวงมาเทศ, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-22T08:53:40Z-
dc.date.available2023-06-22T08:53:40Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6665en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก รอบที่ 2 ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 3 (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนเกี่ยวกับการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 2 ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 3 (3) เปรียบเทียบการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก รอบที่ 2 ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ยะลา เขต 3 จําแนกตามขนาดสถานศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ผู้บริหารและครูผู้สอน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 3 ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา 19 คน ครูผู้สอน 214 คน รวม 233 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบมาตรประมาณค่า มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน และการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟผลการวิจัย พบว่า (1) การดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 2 ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่าในภาพรวมและรายมาตรฐานอยู่ในระดับมากเรียง ตามลําดับดังนี้ มาตรฐานด้านผู้บริหาร มาตรฐานด้านครู และมาตรฐานด้านผู้เรียน (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอน เกี่ยวกับการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 2 ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่าไม่แตกต่างกัน (3) เปรียบเทียบการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกภายนอก รอบที่ 2 ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จําแนกตามขนาดสถานศึกษาพบว่าสถานศึกษาขนาดเล็กแตกต่างจากสถานศึกษาขนาดกลางและสถานศึกษาขนาดใหญ่ และสถานศึกษาขนาดกลางและสถานศึกษาขนาดใหญ่แตกต่าง กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectประกันคุณภาพการศึกษา--ไทย--ยะลาth_TH
dc.subjectประกันคุณภาพการศึกษา--การประเมินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 2 ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานงานเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 3th_TH
dc.title.alternativeOperation of educational quality assurance for the second round of external quality evaluation of basic education schools under the Office of Yala Educational Service Area 3en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_124250.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons