Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6679
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจน์แสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสาโรช สมชอบ, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-23T02:53:44Z-
dc.date.available2023-06-23T02:53:44Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6679-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล ของนักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยว จังหวัดอุบลราชธานี (2) การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวจังหวัด อุบลราชธานี และ (3) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการใช้การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ เพื่อการ ท่องเที่ยวจังหวัดอุบลราชธานี การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ นักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยว ในจังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 400 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ การวิจัยพบว่า (1) ลักษณะส่วนบุคคลของนักท่องเที่ยว กลุ่มตัวอย่างส่วนมาก เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 53.75) อายุ ต่ำกว่า 25 ปี (ร้อยละ 41.50) สถานภาพโสด (ร้อยละ 65.75) การศึกษาอยู่ในระดับ ปริญญาตรี (ร้อยละ 51.00) อาชีพเป็นนักเรียน/นักศึกษา (ร้อยละ 35.00) รายได้ต่ำกว่า 10,000 บาท (ร้อยละ 51.00) วัตถุประสงค์ของการเดินทางมาท่องเที่ยว เพื่อท่องเที่ยว/พักผ่อน (ร้อยละ 69.00) การเดินทางพร้อมครอบครัว (ร้อยละ 53.50) ผู้ร่วมเดินทางท่องเที่ยวมากกว่า 5 คน (ร้อยละ 31.00) และ ระยะเวลาพักค้างคืนพัก 1-2 วัน (ร้อยละ 35.75) (2) การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการที่มีอิทธิพลต่อ การตัดสินใจท่องเที่ยวจังหวัดอุบลราชธานี อันดับแรก คือ การโฆษณาทางรถไฟ รถประจำทาง อันดับสอง คือ การประชาสัมพันธ์ทางสื่อสารธารณะ (วิทยุ หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์) อันดับสาม คือ การขายโดย พนักงานขายจากบุคลากรทางภาครัฐบาลและจากพนักงานภาคเอกชน อันดับสี่ คือ การส่งเสริมการขาย จากการลดแลก แจก แถม กับธุรกิจ และอันดับสุดท้าย คือ การตลาดทางตรงผ่านทางอินเตอร์เน็ต ที่ระดับ นัยสำคัญทางสถิติที่ .01 (3) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ในการใช้การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการเพื่อ การท่องเที่ยวจังหวัดอุบลราชธานี อันดับแรก คือ มีป้ายประชาสัมพันธ์ขนาดใหญ่ก่อนเข้าเมืองจำนวน จำกัด อันดับสอง คือ ควรเพิ่มป้ายบอกทิศทางสถานที่ท่องเที่ยวในเมือง และควรเพิ่มป้ายตามถนนรอบ เมืองไม่เพียงพอ และอันดับสุดท้าย คือ ควรเพิ่มป้ายภาษาต่างประเทศและขาดการประชาสัมพันธ์ใน จังหวัดต่าง ๆth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.116en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการท่องเที่ยว -- การตลาด -- ไทย -- อุบลราชธานีth_TH
dc.titleการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวจังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeIntegrated marketing communications influencing decision making to visit Ubon Ratchathani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to investigate: (1) the personal factors of the tourists visiting Ubon Rathcahathni Province; (2) the integrated marketing communications influencing decision making to visit Ubon Ratchathani Province; and (3) recommendations and suggestions of integrated marketing communications on tourism in Ubon Ratchathani Province. This study was a quantitative research.The studied samples were 400 tourists who visited Ubon Ratchathni Province and systematically selected by multistage random sampling. The statistical procedures used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis The research findings were as follows: (1) the personal characteristics of the most tourists were female (53.75%), and aged lower than 25 (41.50%), single (65.75%), having a bachelor’s degree (51.00%), being students (35.00%), and having an income lower than 10,000 baht a month(51.00%). The aims of visiting were: for travelling or relaxation (69.00%), travelling with a family(53.50%), came in a group of more than five persons(31.00%), and stayed overnight for one to two days(35.75%). (2) the integrated marketing communications influencing decision to travel in Ubon Ratchathani Province included: firstly, advertisement on trains and buses; secondly, public relationship through public media (radios, newspapers and television); thirdly, sale by staffs of government and tourism authority; fourthly, sale promotion by discount, special gift vouchers and spacial offers; and lastly, direct marketing through the internet with statistically significance at .01 level; and (3) the recommendations and suggestions of integrated marketing communications on tourism in Ubon Ratchathani Province were: firstly the limited number of large billboards outside the city; secondly, there should be more signs directing tourist attractions in the city and along the bypass; and lastly, more signs with foreign languages, and more public relations should be made in other provincesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128219.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons