Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6682
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเชษฐ์ธิดา ธรศรี, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-23T03:13:54Z-
dc.date.available2023-06-23T03:13:54Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6682-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษา แบบ ภาวะผู้นํา ของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ฉะเชิงเทรา เขต 2 (2) ศึกษา ประสิทธิภาพการสอน ของ ครู สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ฉะเชิงเทรา เขต 2 และ (3) ศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างแบบ ภาวะผู้นําของผู้บริหารสถานศึกษา มีผล กับ ประสิทธิภาพการสอน ของครู สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ฉะเชิงเทรา เขต 2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ สถานศึกษาที่ผ่านประเมินของ สมศ. รอบสาม สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ฉะเชิงเทรา เขต 2 โดย ใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง จํานวน 65 แห่ง มีผู้ให้ข้อมูลคือ ครูผู้สอน จํานวน 997 คน กําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตารางที่ของเคร และมอร์แกน แล้วทําการสุ่มแบบง่ายได้ตัวอย่าง จํานวน 278 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย เป็น แบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า มีค่าความเที่ยง เท่ากับ 96 สถิติที่ใช้ได้แก่ค่าความถี่ ค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย ปรากฏ ว่า (1) ภาวะผู้นํา แบบบงการ ภาวะผู้นําแบบมีส่วนร่วม ภาวะผู้นํา แบบสนับสนุน อยู่ในระดับมาก และมีภาวะผู้นําแบบเน้นความสําเร็จอยู่ในระดับปานกลาง (2) ประสิทธิภาพการสอน ของครู สังกัดสํา นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ฉะเชิงเทรา เขต 2 อยู่ในระดับมาก ถึงมากที่สุด และ (3) ภาวะผู้นํา แบบบงการ ภาวะผู้นําแบบสนับสนุน ภาวะผู้นําแบบ มีส่วนร่วม และภาวะผู้นําแบบเน้นความสําเร็จ มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการสอนของครู สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้บริหาร -- การบริหารth_TH
dc.subjectครู -- ไทย -- ฉะเชิงเทราth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- บริหารการศึกษาth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาที่มีผลต่อประสิทธิภาพการสอนของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2th_TH
dc.title.alternativeLeadership styles of school administrators affecting teaching efficiency of teachers under Chachoengsao Primary Education Service Area Office 2th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study leadership styles of school administrators under Chachoengsao Primary Education Service Area Office 2; (2) to study teaching efficiency of teachers under Chachoengsao Primary Education Service Area Office 2; and (3) to study relationships between leadership styles of school administrators and teaching efficiency of teachers under Chachoengsao Primary Education Service Area Office 2. The research population consist of 65 purposively selected schools under Chachoengsao Primary Education Service Area Office 2 which passed the third round evaluation from the Office for National Education Standards and Quality Assessment, with the total number of 997 teachers as research informants. The sample of research informants consisted of 278 teachers randomly selected from those schools. The sample size was determined based on Krejcie & Morgan's Sample Size Table. The employed research instrument was a rating scale questionnaire with reliability coefficient of .96. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson's product moment correlation. The research findings showed that (1) the school administrators' autocratic leadership style, participative leadership style, and supportive leadership style were at the high level; while their achievement-oriented leadership style was at the moderate level; (2) teaching efficiency levels of teachers under Chachoengsao Primary Education Service Area Office 2 were at the high to highest levels; and (3) all leadership styles of school administrators, namely, the autocratic leadership style, the supportive leadership style, the participative leadership style, and the achievement- oriented leadership style correlated with teaching efficiency of teachers under Chachoengsao Primary Education Service Area Office 2. Toi TRITONEAen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_147717.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons