Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6698
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัชชา วรรณวรางค์, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-23T07:07:24Z-
dc.date.available2023-06-23T07:07:24Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6698-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัดระดับการมีส่วนร่วมด้านความรับผิดชอบต่อ สังคมของพนักงานในอุตสาหกรรมผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ (2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการมี ส่วนร่วมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของพนักงานในอุตสาหกรรมผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ (3) ศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของพนักงานในอุตสาหกรรมผลิต เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ แยกตามปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านกระบวนการมีส่วนร่วม และ (4) เสนอแนะแนวทางในการมีส่วนร่วมของพนักงานในด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ พนักงานในอุตสาหกรรมผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าความ แปรปรวนทางเดียว ซึ่งใช้การทดสอบเป็นรายคู่โดยวิธี LSD และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ในการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) พนักงานมีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการรับผลประโยชน์ อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านการตัดสินใจ ด้านการดำเนินกิจกรรม และด้านการตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล อยู่ในระดับน้อย (2) ปัจจัยที่มีผลต่อระดับการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของพนักงาน ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ ตำแหน่งงาน การเข้าฝึกอบรม การได้รับข่าวสาร การเข้าร่วม กิจกรรม การเป็นสมาชิกกลุ่ม และประโยชน์ที่ได้รับ (3) พนักงานที่มีปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยด้าน กระบวนการมีส่วนร่วมที่แตกต่างกันมีระดับการมีส่วนร่วมที่แตกต่างกัน ยกเว้น เพศ สถานภาพสมรส และแผนกที่สังกัด และ (4) ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ผู้บริหารควรวางแผนและกำหนดแนวทางใน การส่งเสริมสนับสนุน ให้พนักงานมีความเข้าใจอย่างแท้จริงถึงการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อ สังคม โดยเฉพาะการฝึกอบรม และควรให้ความสำคัญกับพนักงานทุกๆ ระดับได้เข้ามามีส่วนร่วมใน การดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.383en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมเครื่องมือเครื่องใช้ไฟฟ้าth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของพนักงานในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมในอุตสาหกรรมผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeParticipation of employees towards corporateb social responsibility of electronics and equipments industry in Ayutthaya provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were; (1) to determine the level of employees’ participation towards corporate social responsibility (CSR); (2) to find factors affecting participation; (3) to compare employees’ participation towards CSR of electronics and equipments Industry in Ayutthaya Province by personal factors and participation process; and (4) to suggest the participation of employees in CSR. The population in this research was 400 employees of electronics and equipments Industry in Ayutthaya Province. A questionnaire was an instrument. The statistics methods included percentage, mean, standard deviation, t-test, ANOVA, multiple comparison with LSD-Fisher’s Least Significant Difference method and correlation coefficience of Pearson. The research findings were that: (1) the moderate level of employees’ participation towards CSR was found. When thoroughly analyzing by each aspect, it was found that benefits was at the moderate level, while those of the decision making, implementation and evaluation were at the low level; (2) the following factors affecting employees participation towards CSR included age, education, income, position, operation time, training, perception of information and access to the group and benefits; (3) the employees with different personal factors and participation process had different participation except for sex, marital status and department; and (4) the suggestions were those the administrators should plan and determine supporting guideline to the employees understand CSR, especially training and paid attention to all levels of employees to participate in CSR implementationen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128397.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons