Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6705
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวีระศักดิ์ ไม้วัฒนา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรุณศรี ศรีธนะอิทธิพล, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-26T02:02:28Z-
dc.date.available2023-06-26T02:02:28Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6705-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพทั่วไปในการขอรับสิทธิบัตรของวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม (2) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการ ขอรับสิทธิบัตรของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม (3) เปรียบเทียบสภาพ ทั่วไปของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคการผลิตอาหารและเครื่องดื่มที่เคยขอรับสิทธิบัตรกับที่ไม่เคย ขอรับสิทธิบัตร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมภาคการผลิต อาหารและเครื่องดื่ม จำนวน 4,841 ราย การสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 179 ราย เครื่องมือในการวิจัยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก และการวิเคราะห์ไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมภาคการผลิตอาหารและเครื่องดื่มส่วนใหญ่ ไม่เคยขอรับสิทธิบัตร คิดเป็นร้อยละ 75.28 มีปัญหา อุปสรรคที่พบก่อน ระหว่าง หรือหลังการขอรับสิทธิบัตร มากที่สุดคือ ระยะเวลาที่ใช้ในการพิจารณานานเกินไป คิดเป็นร้อยละ 14.81 เหตุผลที่ไม่เคยขอรับสิทธิบัตรของ วิสาหกิจขนาดกลางขนาดย่อม มากที่สุดคือ ไม่แน่ใจว่าผลิตภัณฑ์ กรรมวิธี หรือแบบผลิตภัณฑ์ของหน่วยงาน สามารถขอรับความคุ้มครองได้ คิดเป็นร้อยละ 23.05 (2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดมีผลต่อการขอรับสิทธิบัตร โดยปัจจัยที่มีผลต่อการขอรับสิทธิบัตรมากที่สุดคือ ด้านบุคลากร รองลงมาคือ ด้านสิ่งมีตัวตนที่ มองเห็นได้ที่เข้า มาเกี่ยวข้องกับการบริการ ด้านราคา ด้านกระบวนการ ด้านการจัดจำหน่าย ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านการส่งเสริม การตลาด ตามลำดับ (3) การขอรับสิทธิบัตรขึ้นอยู่กับประเภทธุรกิจ นโยบายด้านการทำ วิจัย พัฒนาและคิดค้น ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์หรือกรรมวิธีการผลิตใหม่ของวิสาหกิจ ปัญหา อุปสรรคในการทำวิจัยและพัฒนา และ การวิจัย พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ของวิสาหกิจth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสิทธิบัตร -- ไทยth_TH
dc.subjectธุรกิจขนาดกลางth_TH
dc.subjectธุรกิจขนาดย่อมth_TH
dc.subjectอาหาร -- การผลิตth_TH
dc.subjectเครื่องดื่มth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการขอรับสิทธิบัตรในประเทศไทยของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม : กรณีศึกษาภาคการผลิตอาหารและเครื่องดื่มth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting patent protection in Thailand of small and medium enterprises : a case study of food and drinking manufacturingth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were; (1) to study general situation of patent filing of Small and Medium Enterprises (SMEs) in food and drinking manufacturing; (2) to study marketing mix factors affecting patent filing of SMEs in food and drinking manufacturing; and (3) to compare general situations of SMEs in food and drinking manufacturing between with and without patent filing. This research was the survey research. The population was SMEs in food and drinking manufacturing at the total amount of 4,841. The samplings consisted of 179 SMEs by using simple random sampling. The instrument using for this research was questionnaires. Statistical tools were percentage, mean, standard deviation, binary logistic regression and Chi-Square. The research findings showed that (1) most SMEs in food and drinking manufacturing had never filed for patent (75.28 %), most problems SMEs faced before, during and after filing was time consuming for patent examination (14.81%), reasons that SMEs without filing for patent protection were lack of confidence for making a decision of which product, means or companies’ product type could be protected (23.05%); (2) the marketing mix factors affected patent filing were personnel followed by physical evidence, price, process, place, product, and promotion, respectively; and (3) patent filing determination depended on type of business, research and development policy, packaging or new product process, problems from research and development conduction, and research and development of new producten_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128853.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons