Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6725
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคมth_TH
dc.contributor.authorนิจจารีย์ วงษ์กาฬสินธุ์, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-26T06:28:06Z-
dc.date.available2023-06-26T06:28:06Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6725en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความคิดเห็นของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานศึกษาธิการภาค 10 (2) ระดับความคิดเห็นของการเป็นองค์การสมรรถนะสูงของสำนักงาน ศึกษาธิการภาค 10 (3) ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์กับการเป็นองค์การสมรรถนะสูงของสำนักงานศึกษาธิการภาค 10 และ (4) ปัญหา ข้อจำกัด และข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์เพื่อการเป็นองค์การสมรรถนะสูงของสำนักงานศึกษาธิการภาค 10 การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากร คือ ข้าราชการสำนักงานศึกษาธิการภาค 10 และ หน่วยงานในพื้นที่รับผิดชอบ 5 แห่ง ได้แก่ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอุดรธานี สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดเลย สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดหนองคาย สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดหนองบัวลำภู และ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดบึงกาฬ จำนวน 197 คน โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงาน ศึกษาธิการภาค 10 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ระระดับความคิดเห็นต่อการเป็นองค์การสมรรถนะสูงของสำนักงานศึกษาธิการภาค 10 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3) ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์กบการเป็นองค์การสมรรถนะสูง พบว่า มีความสัมพันธ์ในทิศทางบวกในระดับสูงโดยมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.01และ (4) ปัญหาที่พบคือ บุคลากรในหน่วยงานมีน้อยแต่ภารกิจงานมีมาก จึงส่งผลให้ มีข้อจำกัดในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ด้านเวลา งบประมาณสนับสนุนมีอยู่จำกัด โอกาสในการเข้าร่วม พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับเครือข่ายค่อนข้างน้อย ส่วนข้อเสนอแนะที่ได้คือ ควรมีการสำรวจความ ต้องการของบุคลากร จัดสรรงบประมาณให้เพียงพอ นำเทคโนโลยีมาใช้ในการระบบสารสนเทศบุคลากร ควรพัฒนาสมรรถนะด้านต่างๆ เพื่อให้เกิดความชำนาญ สร้างเสริมทักษะการทำงานในศตวรรษที่ 21 เข้า มาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์การ ส่งเสริมบรรยากาศของการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานการศึกษาธิการภาค 10--การบริหารงานบุคคลth_TH
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์th_TH
dc.subjectการพัฒนาองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อการเป็นองค์การสมรรถนะสูงของสำนักงานศึกษาธิการภาค 10th_TH
dc.title.alternativeHuman resources development for being the high performance organization of Regional Education Office Region 10en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.description.abstractalternativeThis purposes of this study aimed (1) to study level of human resource development of the Office of Education Region 10 (2) to study level of being high-performance organization of the Office of Education Region 1 0 (3) to study the relationship between human resource development and being a high-performance organization of the Office of Education Region 10, and (4) to study problems and recommendations for human resource development for being the high-performance organization of the Office of Education Region 10. This study was a survey research. The studied population was all officials working for the Office of Education Region 10 in 5 areas of responsibility, namely the Office of Education in Udon Thani Province, in Loei Province, in Nong Khai Province, in Nong Bua Lam Phu Province and Bueng Kan Province, totally 197 officials. The research instrument was a questionnaire. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and Spearman correlation coefficient. The resen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_164025.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons