Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6726
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ศักดิ์ ธนวิบูลย์ชัยth_TH
dc.contributor.authorมงคล สว่างอารมณ์, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-26T06:28:28Z-
dc.date.available2023-06-26T06:28:28Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6726en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะข้อมูลทั่วไปขององค์กรผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ไทย 2) เปรียบเทียบความแตกต่างของการปรับปรุงปฎิบัติการการผลิต จำแนกตาม ลักษณะข้อมูลทั่วไปขององค์กร 3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะ การปรับปรุงปฏิบัติการการผลิตต่อองค์กรผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ไทย การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ สมาชิกสมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ไทย จำนวน 263 บริษัท โดยกลุ่มตัวอย่างได้จากการคำนวณตามสูตรของทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) จำนวน 159 บริษัท เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) สถิติที่ใช้ในการศึกษา คือ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบจำแนกทางเดียว (One-Way ANOVA) และ การเปรียบเทียบเชิงซ้อน ผลการวิจัยพบว่า 1) ลักษณะข้อมูลทั่วไปขององค์กร มีทุนจดทะเบียนตั้งแต่ 101 - 300 ล้านบาท จำนวน 26 องค์กร (ร้อยละ 16.35) ผู้ถือหุ้นเป็นสัญชาติผสม จำนวน 72 องค์กร (ร้อยละ45.28) และอายุการจัดตั้งองค์กรตั้งแต่ 21 – 50 ปี จำนวน 66 องค์กร (ร้อยละ 41.51) สัดส่วน การตลาดเป็นแบบผสม ส่งออกและภายในประเทศ จำนวน 83 องค์กร (ร้อยละ 52.20) ประเภทธุรกิจเป็น ตัวถัง โครงสร้าง จำนวน 23 องค์กร (ร้อยละ 14.46) และระบบคุณภาพองค์กรเป็นระบบ ISO9001 จำนวน 72 องค์กร 2) การปรับปรุงปฏิบัติการการผลิต จำแนกตามลักษณะข้อมูลทั่วไปขององค์กรพบว่า ทุนจดทะเบียน สัดส่วนผู้ถือหุ้น อายุการจัดตั้งองค์กร สัดส่วนการตลาดประเภทธุรกิจ และระบบคุณภาพ มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) พบปัญหา คือพนักงานขององค์กรไม่สามารถซ่อมบำรุงเครื่องจักรได้ต้องใช้บริษัทเอกชนมาดำเนินการ และข้อเสนอแนะ คือต้องการให้มีศูนย์วิจัยและพัฒนาการผลิตเพื่อให้มีคุณภาพและมาตรฐานเดียวกัน.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.7en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectรถยนต์--ชิ้นส่วน--การผลิตth_TH
dc.titleการปรับปรุงปฏิบัติการการผลิตของผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ไทยth_TH
dc.title.alternativeOperation improvement of Thai Auto Parts Suppliersth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.7-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.7en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to: 1) study general characteristic of Thai Auto parts suppliers, 2) compare the difference of production improvement classified by general characteristic of the suppliers, and 3) study problems and suggestions for production improvement of Thai Auto parts suppliers. This was an exploratory research. The population comprised 263 members of Thai Auto parts suppliers Association. The samples consisted of 159 suppliers determined by Taro Yamane’s sampling formula. A Likert scale questionnaire was used as the research instrument. The data was analyzed by frequency, percentage, means, standard deviation, one-way ANOVA, and multiple comparisons. The findings revealed the following: 1) in terms of general characteristic, there were 26 suppliers established with registered capital of 101 - 300 million Baht (16.35 percent). The shareholders of 72 suppliers were from multiple nations (45.28 percent). There were 66 suppliers that had been established for 21-50 years (41.51 percent). Among the surveyed organizations, there were 83 suppliers that had mixed market scope covering the domestic market and exporting to overseas (52.20 percent). Most suppliers (23 suppliers) produced car bodies and structures (14.46 percent). Lastly, ISO9001 standard system was found in 72 of the suppliers. 2) in terms of production improvement classified by general characteristic of the suppliers, it was found that registered capital, proportion of shareholders, duration of establishment, market scope, business type, and quality systems were statistically significant at 0.05 level. 3) in terms of problems, it was found that employees of the suppliers could not maintain and fix broken machines, and had to depend on outsourcing. For therecommendation, there should be a Research and Production Development Center to develop quality of products and control all suppliers under the same standards.en_US
dc.contributor.coadvisorธนชัย ยมจินดาth_TH
dc.contributor.coadvisorประเสริฐ สุทธิประสิทธิ์th_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130194.pdfเอกสารฉบับเต็ม2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons