Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6732
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมยศ มุราชัย, , 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-26T07:28:33Z-
dc.date.available2023-06-26T07:28:33Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6732-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ภาพลักษณ์ด้านองค์กร (2) ภาพลักษณ์ ด้านผลิตภัณฑ์ (3) ภาพลักษณ์ด้านการบริการ และ (4) การเปรียบเทียบความแตกต่างของ ภาพลักษณ์จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือผู้ใช้รถยนต์ฮอนด้า จากยอดขาย รถยนต์ฮอนด้า 5 ปี ย้อนหลังใน 8 จังหวัดที่สุ่มได้ตั้งแต่ปี 2550 - 2554 จำนวน 9,264 คัน กำหนด ขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน 0.05 จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบที และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า (1) ภาพลักษณ์ด้านองค์กรโดยรวมมีภาพลักษณ์ อยู่ในระดับ ดีมาก โดยความมีชื่อเสียงของสัญลักษณ์ “H” มีภาพลักษณ์สูงสุด (2) ภาพลักษณ์ด้านผลิตภัณฑ์ที่ เป็นรูปลักษณ์ภายนอก อยู่ในระดับดีมาก โดยรูปทรงทันสมัย มีภาพลักษณ์สูงสุด ภาพลักษณ์ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นคุณสมบัติด้านเครื่องยนต์กลไกมีภาพลักษณ์ อยู่ในระดับดีมาก โดย มีระบบเบรก เอบีเอส มีภาพลักษณ์สูงสุด (3) ภาพลักษณ์ด้านศูนย์บริการ โดยรวมมีการบริการ อยู่ในระดับดีมาก โดยมีศูนย์บริการครบทุกจังหวัดมีภาพลักษณ์สูงสุด ภาพลักษณ์ด้านบริการโดยรวมมีการบริการ อยู่ในระดับดีมาก โดยพนักงานมีการชี้แจงรายการซ่อม สรุปค่าใช้จ่ายเบื้องต้นมีภาพลักษณ์สูงสุด ด้านช่างบริการ โดยรวมมีการบริการ อยู่ในระดับดีมาก โดย แจ้งรายการซ่อมเพิ่มเมื่อพบปัญหามี ภาพลักษณ์สูงสุด และ (4) การเปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าผู้ใช้ที่มีรุ่นของ รถยนต์ที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ด้าน การบริการโดยรวม แตกต่างกัน อย่างมี นัยสำคัญ .05 แต่ปัจจัยส่วนบุคคลอื่น ๆ ไม่พบความแตกต่างในด้านภาพลักษณ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.384en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาพลักษณ์บริษัทth_TH
dc.subjectรถยนต์th_TH
dc.subjectความพอใจของผู้บริโภค -- ไทย (ภาคกลาง)th_TH
dc.titleภาพลักษณ์รถยนต์ฮอนด้าในทัศนะของผู้ใช้รถยนต์ในเขตภาคกลางth_TH
dc.title.alternativeImage of the Honda Car from user's perspective in the Central Regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) organization image; (2) product image; (3) service image; and (4) comparison of the image differently of personal factors. This research was a survey research. Population was a Honda car’s consumers from sale volume within 5 years (2007-2011) in 8 provinces of 9,264 cars. The calculation of the size and number of samples with the level of 0.05 was 400 consumers. The samples were randomized by multi - stage sampling. A questionnaire was used as a tool to collect data. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, t-test and One Way ANOVA. The results from this research were that: (1) the overall organization image was at the high level and the fame of “H” logo was at the highest level; (2) product image with the exterior image was at the high level and the modern design was at the highest level. However, the engine image was at high level and brake system (ABS) image was at the highest level; (3) the overall of service image was at the high level and the service centers in all provinces was at the highest level. The overall service image was at the level as the repair list and summary of preliminary expensed from staff were at the highest level. Moreover, the overall technician image was at the high level and the image of notification of repairing issue from technician was influencing at the highest level; and (4) the comparison of personal factors of Honda cars’ customers were found that different car type customers had different opinions in overall service image with the statistical significance at the level 0.05 and the other personal factors were not different in imageen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130292.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons