Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6736
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอภิรมย์ ศรีจันเทพ, 2526- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-26T07:44:04Z-
dc.date.available2023-06-26T07:44:04Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6736-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความเครียดของผู้ต้องขังเรือนจำพิเศษมีนบุรี 2) เปรียบเทียบปัจจัยสาเหตุความเครียดของผู้ต้องขังเรือนจำพิเศษมีนบุรี และ 3) เสนอแนะแนวทางในการจัดการความเครียดให้ผู้ต้องขังเรือนจำพิเศษมีนบุรี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลโดยวิธีการสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือผู้ต้องขังเรือนจำพิเศษมีนบุรีคดีอยู่ระหว่างพิจารณาจำนวน 441 คน โดยกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาด้วยสูตรทาโร่ยามาเน่ได้จำนวน 209 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบประเมิน ความเครียด และแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยสาเหตุความเครียด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละความถี่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวด้วยการ ทดสอบ ค่าที การวิเคราะห์เปรียบเทียบ ด้วยวิธีของ เชฟเฟ่ และแอลเอสดีโดยกำหนดค่านัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ผลการศึกษาพบว่า 1) ระดับความเครียดผู้ต้องขังเรือนจำพิเศษมีนบุรีส่วนใหญ่อยู่ในระดับน้อย 2) เปรียบเทียบปัจจัยสาเหตุความเครียดของผู้ต้องขังเรือนจำพิเศษมีนบุรี โดยจำแนกตาม ข้อมูลส่วนบุคคล เพศ สถานภาพ และเงินที่รับจากญาติเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายต่างกันมีระดับความเครียด แตกต่างกัน และ อายุ การศึกษา อาชีพก่อนต้องโทษ ประเภทคดี ระยะเวลาที่อยู่ในเรือนจำต่างกันมีระดับความเครียดไม่แตกต่างกันอย่างนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยสาเหตุความเครียดด้าน สภาพแวดล้อมภายในเรือนจำภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ปัจจัยด้าน โรคภัยไข้เจ็บอยู่ในระดับมาก รองลงมาคือด้านสวัสดิการผู้ต้องขังภายในเรือนจำ ด้านความแออัดของผู้ต้องขังด้านกฎระเบียบภายในเรือนจำและด้านความสัมพันธ์ระหว่างผู้ต้องขังอื่น 3) ข้อเสนอแนะจากผลการศึกษาทางเรือนจำควรจัดให้มีโครงการให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการปฏิบัติตัวในขณะอยู่ในเรือนจำแก่ผู้ต้องขังเข้าใหม่ เพื่อให้ผู้ต้องขังสามารถปรับตัวและได้ทราบวิธีการดำเนินชีวิตในเรือนจำ ควรจัดทำแผนกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพชีวิตตลอดปี โดยเน้นให้เหมาะสมกับลักษณะกลุ่มของ ผู้ต้องขัง เพื่อผ่อนคลายความเครียด และควรเพิ่มกิจกรรมกลุ่ม เช่น กีฬาเป็นทีมเพราะเป็นการส่งเสริม การใช้ชีวิตร่วมกันในสังคม การรู้จักระเบียบ มนุษย์สัมพันธ์ ความร่วมมือในการทำกิจกรรมร่วมกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความเครียด (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectนักโทษ--สุขภาพจิตth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความเครียดของผู้ต้องขังเรือนจำพิเศษมีนบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe stress among inmates of Minburi Remand Prisonen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are to 1) study the stress level of the Minburi Remand prison inmates, 2) compare the stress factor of the inmates of the Minburi Remand Prison, and 3) to suggest stress management guidelines for inmates at the Minburi Remand Prison. This study is a quantitative research. Data collected by survey method The population of the study was 441 inmates at the Minburi Remand Prison. The sample size used in the study using Taro Yamane formula was 209 people. The research tool was a stress assessment. And questionnaires about the causes of stress. The statistics used for data analysis were percentage, frequency, mean, standard deviation, Oneway variance was analyzed by t-test. and One-way Anova analysis of variance by means of the Scheffe and LSD comparisons. Statistics at the .05 level. The results of the study showed that 1) the stress level of the Minburi Remand prison inmates was at a low level. 2) The stress factor of the inmates of the Minburi Remand Prison. They were classified by personal information, sex, status and money received from relatives for expenses, different levels of stress, and age, education, occupation before incarceration, type of case, length of stay in prison. There was a statistically no difference in stress levels at 0.05, the overall stress causing factors in the prison environment was moderate. When considered individually, it was found that The disease factor was at a high level. Followed by the welfare of inmates in prisons. Congestion of inmates Regulations in prisons And the relationship between other prisoners 3) Recommendations from prison studies should provide a program to provide correct knowledge and understanding on how to practice while in prison for new inmates. So that inmates can adjust and learn how to live in prison Should prepare an activity plan to promote quality of life throughout the year. Focusing on the characteristics of the group of inmates To relieve stress And should add group activities such as team sports because it promotes a common life in society. Knowing order Human relations Cooperation in doing joint activitiesen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_164438.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons