Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6737
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนราธิป ศรีรามth_TH
dc.contributor.authorกนกพร กาลจักรth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-26T07:53:05Z-
dc.date.available2023-06-26T07:53:05Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6737en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับความพร้อมในการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพภาครัฐ ของมหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นต่อความพร้อมในการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพภาครัฐ ของกลุ่มตัวอย่าง โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรคในการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพภาครัฐของมหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ (4) ศึกษาข้อเสนอแนะการสร้างความพร้อมในการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพภาครัฐ ของมหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอถงกรณ์กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการและพนักงาน ในสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์จำนวน 219 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยถะ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ค่าเอฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ มีความพร้อมในการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพภาครัฐ ในภาพรวมอยู่ในระดับน้อย โดยหมวดที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ หมวด การนำองค์กร หมวดที่มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด คือ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อความพร้อมในการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพภาครัฐ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า บุคคลที่มีเพศ สถานภาพและระยะเวลาการทำงาน สายงาน แตกต่างกัน มีความ คิดเห็นต่อความพร้อมในการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพภาครัฐของมหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ไม่แตกต่างกัน บุคลากรที่มีตำแหน่งและคุณวุฒิแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อความพร้อมในการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพภาครัฐของมหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัญหาอุปสรรคในการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพภาครัฐ ของมหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยข้อที่เป็นปัญหามากที่สุด คือ การปรับเปลี่ยนผู้บริหารบ่อยครั้งมีผลกระทบต่อการบริหารงานตามเกณฑ์คุณภาพ (4) ข้อเสนอแนะการสร้างความพร้อม ได้แก่ องค์กรควรเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากรมากยิ่งขึ้น สร้างความรู้ความเข้าใจในเกณฑ์คุณภาพภาครัฐให้กับบุคลากรทุกคนมีแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจนใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหารงาน พัฒนาศักยภาพของบุคลากรทุกด้าน ปรับปรุงโครงสร้างในการบริหาร สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เหมาะสมมีการนำเทคโนโลยีและสื่ออุปกรณ์ทันสมัยมาใช้โดยเฉพาะในกระบวนการจัดการเรียนการสอนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์--การบริหารth_TH
dc.subjectการบริหารคุณภาพโดยรวมในภาครัฐth_TH
dc.titleความพร้อมในการบริหารตามเกณฑ์คุณภาพภาครัฐ : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeReadiness to manage in accordance with Public Sector Management Quality Criteria : a case study of Valaya Alongkorn Rajabhat university, Pathum Thani provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) study the opinion of personnel on the readiness of Valaya Alongkom Rajabhat university to manage in accordance with Public Sector Management Quality Criteria (2) compare the opinions of the personnel based on personal factors (3) study the opinion of personnel on problems and barriers of Valaya Alongkom Rajabhat university to manage in accordance with Public Sector Management Quality Criteria (4) study the recommendation of personnel to encourage the readiness of Valaya Alongkom Rajabhat university to manage in accordance with Public Sector Management Quality Criteria. Samples comprised 219 bureaucrats and employees of Valaya Alongkom Rajabhat university. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean standard deviation, t-test and F-test. Research result revealed that (1) the readiness of Valaya Alongkom Rajabhat university to manage in accordance with Public Sector Management Quality criteria was in low level, the highest mean was on leadership criteria while the lowest mean was on clients and stakeholders (2) when compared the opinions of personnel with different genders, working status, period of work, and job lines, no difference was found; while difference at 0.05 level of significance was found from the opinions of personnel with different positions andqualifications (3) problems and barriers were in high level, highest mean was on frequent changes of the executives which obviously affected the quality management (4) recommendations included the followings: the organization should encourage personnel motivation, increase knowledge and understanding of personnel on Public Sector Management Quality criteria, develop clear standard of operation, apply managerial participation, develop personnel potential in all aspects, improve organization structure, create appropriate organization culture, bring in modem technology and media equipment in the operation particularly in learning and teaching process.en_US
dc.contributor.coadvisorปภาวดี มนตรีวัตth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
112148.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons