Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6738
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุขุมาลย์ ชำนิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทัศนีย์ จิตต์ทองกุล, , 2498--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-26T07:56:52Z-
dc.date.available2023-06-26T07:56:52Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6738-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพภูมิหลังของแรงงานไทยไปทำงาน ไต้หวัน (2) ศึกษาสาเหตุและปัญหาของแรงงานที่เดินทางไปทำงานไต้หวันและ (3) เสนอ แนวทางในการพัฒนาการบริหารแรงงานที่เดินทางไปทำงานไต้หวัน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ แรงงานไทยที่เดินทางไปทำงานไต้หวันที่มารายงานตัว หรือลงทะเบียนเพื่อไปทำงานต่างประเทศ ณ สำนักงานบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศใน ช่วง ปี 2553 จำนวน 395 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ผลการวิจัย พบว่า (1) แรงงานไทยที่เดินทางไปทำงานไต้หวันส่วนมากเป็นเพศชาย มี อายุระหว่าง 31 – 35 ปี มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งเป็นโสด และยังไม่มีบุตร มีสมาชิก ในครอบครัวที่ต้องรับผิดชอบระหว่าง 4 – 5 คน ซึ่งอาชีพเดิมเป็นเกษตรกร มีรายได้ ไม่แน่นอน และใช้บริการผ่านบริษัทจัดหางานเดินทางไปทำงานไต้หวันในตำแหน่งใน โรงงานอุตสาหกรรม มี รายได้ต่อเดือนระหว่าง 17,001 – 18,000 บาท (2) สาเหตุก่อนไปทำงานไต้หวันเพราะเป็นแรงงาน ที่ว่างงานและมีภาระหนี้สิน ปัญหาในด้านภาษาและการสื่อสารกับนายจ้างต่างชาติเป็นปัญหามาก ที่สุดในการเดินทางไปทำงานไต้หวัน และ (3) แรงงานไทยได้เสนอแนะให้มีการแก้ไขกฎหมาย กองทุนเพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทำงานต่างประเทศให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ให้รัฐเป็น ผู้ดำเนินการจัดส่งแรงงานไทยไปทำงานต่างประเทศให้มากขึ้น เผยแพร่พฤติกรรมการหลอกลวง ของสาย/นายหน้าผ่านสื่อที่แรงงานรับฟังหรือรับชมได้โดยง่าย รัฐควรเพิ่มอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ใน กระทรวงแรงงานในต่างประเทศth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.313en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectแรงงาน -- ปัญหาและข้อพิพาทth_TH
dc.subjectแรงงานไทยในต่างประเทศth_TH
dc.titleสาเหตุและปัญหาของแรงงานไทยในการทำงานต่างประเทศ : กรณีศึกษาแรงงานไทยที่เดินทางไปทำงานไต้หวันth_TH
dc.title.alternativeCauses and problems of Thai Laborers working overseas : a case study of Thai Laborers in Taiwanth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to Study the background of Thai Laborers who want to working in Taiwan; 2) to study causes and problems of these workers; and 3) to inform guidelines to develop management of sending Thai laborers to work in Taiwan The sample group consisted of 395 workers:. who presented or registered for employment overseas at the Overseas Bureau of Thai Labor Management 2010. The research tool was a questionnaire. The statistics used for data analysis were frequency and percentage. The Findings were 1) most workers in Taiwan were male, 31-35 years of age, with lower secondary education, single and no child, with 4-5 family members. They worked as farmers with uncertain income, used service with the labor employment company to work in Taiwan with positions in factories of for monthly income. 17,001-18,000 baht; 2) the causes prior to Taiwan employment were unemployment and having much debt. The problems in language and communication with Taiwanese employers were at the height lewel and; 3) These Thai workers suggested the amendment of fund law to help those seeking employment overseas appropriately with the situation. The state would manage by sending more workers overseas. The state should publicize the brokers’ deceptive behavior through media with convenient accessibility of the workers. The state would increase personnel in the Ministry of Labor overseasen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130294.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons