Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/674
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิตรา มณีวงษ์, 2502--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T08:15:56Z-
dc.date.available2022-08-17T08:15:56Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/674-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงอรรถาธิบายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความรู้ ทัศนคติ การรับรู้นโยบายของโรงพยาบาลและการสนับสนุนจากผู้บริหาร และพถุดิกรรมการปฏิบัติเกี่ยวกับการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดขอนแก่น (2) ศึกษาอิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้ ทัศนคติ การรับรู้นโยบายของโรงพยาบาลและการสนับสนุนจากผู้บริหาร ที่มีต่อพฤติกรรมการปฏิบัติเกี่ยวกับการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย (3) เปรียบเทียบพฤติกรรมการปฏิบัติเกี่ยวกับการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพงานผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุกับพยาบาลวิชาชีพงานผู้ป่วยใน ประชากรที่ศึกษา คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน 20 แห่งในจังหวัดขอนแก่น จำนวน 364 คน เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบที่มีความเที่ยงในหมวดความรู้ ทัศนคติ และการรับรู้ .75 .85 และ .92 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) พยาบาลวิชาชีพส่วนใหญ่ มีความรู้เรื่องการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยอยู่ในระดับมาก ร้อยละ 64.01 มีทัศนคติต่อการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยอยู่ในระดับดี ร้อยละ 94.78 รับรู้ว่าใน องค์กรมีนโยบายชัดเจนเกี่ยวกับสิทธิผู้ป่วยและมีการสนับสนุนจากผู้บริหาร ร้อยละ 68.41 มีพฤติกรรม การปฏิบัติการพยาบาลเกี่ยวกับการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด ร้อยละ 98.08 (2) การรับรู้นโยบายของโรงพยาบาลและการสนับสนุนจากผู้บริหาร ทัศนคติ ประสบการณ์การทำงาน และหน่วยงานที่ปฏิบัติ สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการปฏิบัติเกี่ยวกับการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ ได้ร้อยละ 38 (R2= 0.38) (3) คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการปฏิบัติเกี่ยวกับการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพงานผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุแตกต่างจากพยาบาลวิชาชีพงานผู้ป่วยในอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.05)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2005.493-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลชุมชนth_TH
dc.subjectพยาบาลกับผู้ป่วย--ไทย--ขอนแก่นth_TH
dc.subjectสิทธิผู้ป่วยth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติเกี่ยวกับการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting practice behavior about patient advocacy of professional nurses in community hospitals, Khonkaen Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2005.493-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารโรงพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this explanatory research were (1) to study knowledge, attitude, perception on policy and administration support, and practice behavior about patient advocacy of professional nurse เท community hospital, Khonkaen province; (2) to study the influences of personal factors, knowledge, attitude, perception on policy and administration support to the practice behavior about patient advocacy; (3) to compare the practice behavior about patient advocacy between the professional nurses at the Out Patient and Emergency Department (OPD & ER ), and the in Patient Department (IPD). The study population was 364 professional nurses in 20 community hospitals in Khonkaen province. Data were collected by questionnaires which their reliability on knowledge, attitude and perception were .75, .85 and .92, respectively. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, multiple regression and student t-test. The study results were as follows: (1) Most of professional nurses had knowledge on patient advocacy at a high level (64.01%), had attitude on patient advocacy at a good level (94.18%), perceived a clear hospital policy and supporting from administrators (68.41%), had practice behavior about patient advocacy at a high to a very high levels (98.08%). (2) The perception on policy and administration support, attitude, work experience and working department could predict 38 % of the practice behavior about patient advocacy (R2= 0.38). (3) Means of practice behavior about patient advocacy of professional nurses at the OPD&ER and the IPD were statistically different at .05 level of significanceen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
86329.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons