Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6773
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรัชตะ ท้าวคำลือ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-27T08:09:02Z-
dc.date.available2023-06-27T08:09:02Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6773-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับขวัญและกำลังใจของกำลังพลสังกัด กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 17 (2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจของกำลังพล สังกัดกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 17 (3) ศึกษาแนวทางในการปรับปรุงการปฏิบัติงานของ กำลังพล สังกัดกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 17 การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิชัยเชิงสำรวจ โดยเป็นการศึกษาประชากรทั้งหมด ชึ่งได้แก่ กำลังพลสังกัดกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 17 จำนวน 444 ตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย ได้แก่แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ได้แก่ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การ ถดถอยแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับขวัญและกำลังใจของกำลังพลสังกัดกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 17 ในภาพรวมอยู่ในระดับสูง โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ขวัญและกำลังใจด้าน ความสำเร็จของงาน รองลงมาตามลำดับ ได้แก่ ด้านการยกย่องนับถือหรือการยอมรับ ด้านความพึง พอใจในการปฏิบัติงานและด้านโอกาสความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน (2) ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ ขวัญและกำลังใจของกำลังพลสังกัดกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 17 ได้อย่างมีนัยลำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 คือ ปัจจัยด้านพฤติกรรมองค์กร 5 ด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อยที่สุด คือด้าน ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ด้านนโยบายและการบริหารงาน ด้านลักษณะของงาน ด้าน คำตอบแทนแสะสวัสดิการ และด้านความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงาน (3) แนวทางในการ ปรับปรุงการปฏิบัติงานของกำลังพล สังกัดกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 17 สรุปได้เป็น 6 ด้านจากความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ระบบการทำงาน ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงาน สภาพแวดลัอมในสถานที่ทำงาน ค่าตอบแทน การพัฒนาหน่วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.170-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectขวัญในการทำงานth_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจของกำลังพล สังกัดกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 17th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting morale of personnel in 17th Infantry Regiment, 2nd Infantry Battalionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.170-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study (1) the level of morale of military personnel in the 17th Infantry Regiment, 2nd Infantry Battalion, (2) the factors that affect the morale of military personnel in the 17th Infantry Regiment, 2nd Infantry Battalion, (3) guidelines for improving the operations of military personnel in the 17th Infantry Regiment, 2nd Infantry Battalion. This is a survey research that studies ail the population of444 military personnel working in the 17th Infantry Regiment, 2nd Infantry Battalion. The research instrument used is questionnaires. Statistics used in analyzing the data are percentage, average, standard deviation, multiple regression analysis. The findings show that: (1) The overall morale of military personnel in the 17th Infantry Regiment, 2nd Infantry Battalion was high, the highest average scores were the morale on work success, recognition and acceptance job satisfaction, and job advancement opportunity respectively. (2) The variables that best predicted the morale of military personnel in the 17th Infantry Regiment, 2nd Infantry Battalion were five organizational behavior factors, ranging from most to least importance, including relations with superiors, policy and administration job characteristics, compensation and welfare, and relations with colleagues. (3) The guidelines for improving work operations of the personnel in the 17th Infantry Regiment, 2nd Infantry Battalion were work systems, relations with superiors, relations with colleagues, workplace environment, compensation, and unit developmenten_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
112195.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons