Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6774
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จีระ ประทีป | th_TH |
dc.contributor.author | อรรนพ พรหมคณะ, 2505- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-27T08:09:28Z | - |
dc.date.available | 2023-06-27T08:09:28Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6774 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วน ตำบลทรายแดง อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ในด้านการเงิน ด้านกระบวนการภายใน ด้านประชาชน ผู้รับบริการ และด้านการเรียนรู้และ การพัฒนา (2) ศึกษาปัญหาในการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ทรายแดงอำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนองและ (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลทรายแดง อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนองการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรคือ เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบล ทรายแดง จำนวน 24 คน และประชาชน ผู้มีสิทธิเลือกตั้งตำบลทรายแดงจำนวน 2,614 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ผู้บริหาร และหัวหน้าส่วนสำนักงานจำนวน 10 คน และผู้มีสิทธิเลือกตั้งขององค์การ บริหารส่วนตำบลทรายแดง คำนวณด้วยสูตรของทาโรยามาเน่ ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 400 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า (1) การประเมินผลการดําเนินงานขององค์การบริหารส่วนตําบลทรายแดง ในภาพรวมทุกด้านอยูในระดับดี (2) ปัญหาในการดําเนินงานที่สําคัญคืองบประมาณมีจํานวนจํากดั บุคลากรมีไม่เพียงพอกบการดําเนินงาน และบุคลากรส่วนใหญ่ขาดทักษะ ความรู้ และความชํานาญในการดําเนินงาน และ (3) ข้อเสนอแนะแนวทางในการแกไขปัญหาการดําเนินงานที่สําคัญ คือควรวางแผนการนํางบประมาณที่ได้รับมาใช้ให้เหมาะสมกบการดําเนินงานควรสรรหาบุคลากรให้เพียงพอและเหมาะสมกบการดําเนินงาน และพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความชํานาญและทักษะในการดําเนินงาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล--การประเมิน--ไทย--ระนอง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | การประเมินผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลทรายแดง อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง | th_TH |
dc.title.alternative | Performance evaluation of Sai Daeng Sub-district Administrative Organization Mueang Ranong District, Ranong Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to evaluate implementation performance of Sai Daeng Sub-district Administrative Organization, Mueang Ranong District, Ranong Province in the aspects of financial, internal process, customer and development and growth. (2) to study problems of implementation of Sai Daeng Sub-district Administrative Organization, Mueang Ranong District, Ranong Province; and (3) to propose guidelines for implementation problem solving of Sai Daeng Sub-district Administrative Organization. Ranong District, Ranong Province. This study was a survey research and qualitative analysis. Population was 24 officers of Sai Daeng Administrative Organization and 2,614 voters of the Sai Daeng Administrative Organization. The amount of 10 administrators and heads of Sai Daeng Administrative Organization were selected as interviewees. The amount of 400 voters which were obtained from Taro Yamane formula calculation were sampled as respondents for the questionnaire with accidental sampling method. A questionnaire and an interview were used as research instrument. Descriptive statistics such as frequency, percentage, mean, and standard deviation were employed for data analysis.The results revealed that (1) an overview of the implementation evaluation of Sai Saeng Sub-district Administrative Organization, Muan district, Ranong province in all aspects were at high level (2) main problems of implementation were budget limitation, insufficient personnel and most of personnel lacked of knowledge, skills and expertise in work, and (3) guidelines for implementation problem solving were that there should formulate appropriate plans in accordance with the received budget, the personnel recruitment should be done sufficiently and there should have human development plan for better knowledge, skills and expert in work. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_159424.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License