Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6786
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวาทินี เทพวีระพงศ์, 2532- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T02:20:11Z-
dc.date.available2023-06-28T02:20:11Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6786-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) วัดระดับประสิทธิผลการให้บริการของที่ทําการไปรษณีย์ตลาดคําเที่ยง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (2) เปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อประสิทธิผลการให้บริการของที่ทําการไปรษณีย์ ตลาดคําเที่ยง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (3) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผล การให้บริการของที่ทําการไปรษณีย์ตลาดคําเที่ยง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณได้กำหนดกลุ่มประชากรในเขตอําเภอเมือง เชียงใหม่ จํานวน 227,443 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ใช้บริการที่ทําการไปรษณีย์ตลาดคําเที่ยง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จํานวน 400 คน ประกอบด้วย เพศชาย 164 คน และเพศหญิง 236 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการวัดระดับประสิทธิผล โดยวัดจากความคิดเห็นของผู้มาใช้บริการเป็นสําคัญ ซึ่งแบบสอบถามจะมีค่าความเที่ยงตรงเท่ากับ 0.94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความ แปรปรวน การทดสอบความแตกต่างรายคู่ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ประสิทธิผลการให้บริการของที่ทําการไปรษณีย์ตลาดคําเที่ยง ทั้งหมด 4 ด้าน ได้แก่ ด้านกระบวนการหรือขั้นตอนการให้บริการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ด้านสิ่งอํานวยความสะดวก และด้านคุณภาพการให้บริการอยู่ในระดับมาก (2) เปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ และ อาชีพ ที่แตกต่างกัน มีผลต่อประสิทธิผลการ ให้บริการของที่ทําการไปรษณีย์ในด้านสิ่งอํานวยความสะดวกแตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัจจัยการบริหารมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการให้บริการของที่ทําการ ไปรษณีย์ตลาดคําเที่ยง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectไปรษณีย์--ความพอใจของผู้ใช้บริการ--ไทย--เชียงใหม่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleประสิทธิผลการให้บริการของที่ทำการไปรษณีย์ตลาดคำเที่ยง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeThe effectiveness of services at Talad Khamthieng Post Office, Amphoe Mueng, Chiang Maien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to measure of the effectiveness of services at Talad Khamthieng Post Office Amphoe Mueng, Chiang Mai (2) to compare the differences of personal factors that affect the effectiveness of services at Talad Khamthieng Post Office Amphoe Mueng, Chiang Mai and (3) to study the factors that are related to the service effectiveness of Talad Khamthieng Post Office Amphoe Mueng, Chiang Mai. This research is a quantitative research. The population is 227,443 people living in Amphor Muang Chiang Mai. The sample is 400 service users at Talad Khamthiang post office Amphoe Mueng, Chiang Mai, consisting of 164 males and 236 females. The tool in this research is a questionnaire regarding the effectiveness measurement by measuring the opinions of the users. The questionnaire has the accuracy value of 0.94. The statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation (S.D.), t-test, Analysis of Variance (One-way ANOVA), Least significant difference test (LSD) and Correlation Coefficient. The findings were as follows: (1) the effectiveness of the services of Talad Khamthieng Post Office was found in four areas, namely the process or procedure in the service, service personnel, facilities and the service quality in a high level, (2) the comparison of the differences in personal factors, such as gender, age and occupation, showed that they affected the service effectiveness at the post office in facilities area with statistical significance at 0.05, (3) the administration factor is related to the effectiveness of the service of the Talad Khamthieng Post Office with statistical significance at 0.01en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161296.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons