Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6790
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวภา มีถาวรกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุประวีณ์ อนุมานศิริกุล, 2516- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T02:42:32Z-
dc.date.available2023-06-28T02:42:32Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6790-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ให้ข้อมูลที่มีต่อการเลือกใช้สถานดูแลผู้สูงอายุในจังหวัดนนทบุรี (2) ข้อคิดเห็นต่อระดับความสําคัญของส่วนประสมการตลาดที่มีต่อการเลือกใช้สถานดูแลผู้สูงอายุในจังหวัดนนทบุรี(3) ข้อคิดเห็นต่อการเลือกใช้สถานดูแลผู้สูงอายุในจังหวัดนนทบุรี รูปแบบของการศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ กลุ่มตัวอย่าง คือบุคคลสัญชาติไทยอายุ 25 ปี ขึ้นไป ที่อยู่ในจังหวัดนนทบุรี ซึ่งมีจํานวนประชากรทั้งสิ้น 892,685 คน ผู้ศึกษาทําการสุ่มแบบบังเอิญ โดยใช้แบบสอบถามและสัมภาษณ์เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างดังกล่าว รวมจํานวน 400 คน โดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูปในการคํานวณ ประมวลผลและวิเคราะห์ ซึ่งสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุระหว่าง 31-40 ปี สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสถานภาพโสด ประกอบอาชีพพนักงาน บริษัทเอกชน และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนระหว่าง 20,001-40,000 บาท ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่มีผู้สูงอายุอยู่ในครอบครัว โดยเป็นผู้สูงอายุที่ดูแลช่วยเหลือตัวเองได้และไม่ได้ใช้บริการสถานดูแลผู้สูงอายุ (2) ข้อคิดเห็นต่อระดับความสําคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อการเลือกใช้สถานบริการดูแลผู้สูงอายุในจังหวัดนนทบุรี พบว่าผู้ให้ข้อมูลให้ความสําคัญต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยให้ความสําคัญในระดับมากที่สุดกับด้านบุคลากรและการนําเสนอลักษณะทางกายภาพ และให้ความสําคัญระดับมากกับด้านผลิตภัณฑ์ ด้านกระบวนการการให้บริการ ด้านราคา ด้านการจัดจําหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลําดับ (3) ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่จะเลือกใช้บริการสถานดูแลผู้สูงอายุแบบรายวันมากกว่าแบบรายเดือน และจะค้นหาข้อมูลสถานบริการจากอินเตอร์เน็ตมากที่สุด โดยพิจารณาสถานบริการที่อยู่ใกล้ที่พักอาศัย เป็นสัดส่วนมากที่สุด ค่าใช้จ่ายในการใช้บริการต่อเดือนอยู่ที่ประมาณ 15,001 – 20,000 บาทth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การดูแล--ไทย--นนทบุรีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อการเลือกใช้สถานบริการดูแลผู้สูงอายุในจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors influencing the decision to choose the Elderly Care Service in Nonthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were to study (1) the personal factors of key informants in choosing Elderly Care Service Center in Nonthaburi Province; (2) the importance level of marketing mix factors of key informants in choosing Elderly Care Service Center in Nonthaburi Province; and (3) their opinions in choosing Elderly Care Service Center in Nonthaburi Province. This study was a survey research. The population was 892,865 Thai people aged 25 years old in Nonthaburi Province. 400 samples were randomly selected. A questionnaire and an interview were used as the tools to collect data. Statistical package was used to calculate, analyze the data by percentage, frequency, mean and standard deviation. The results from this study were that (1) the majority of respondents in choosing Elderly Care Service Center in Nonthaburi Province were single female, aged 31-40 years old, had university graduates, and worked as private company employees with average monthly income 20,001 – 40,000 baht. Most of the respondents had elderly people in their family rather than disable elderly people, and didn’t use the Elderly Care Service Center. (2) The sampling opinions towards the importance level of marketing mix factors in choosing Elderly Care Service Center in Nonthaburi Province was at a high level in all aspects. People and Physical Appearance were at the highest level while Product, Process, Price, Place and Promotion were at a high level respectively. (3) Most of the samples preferred to choose Special Day Care Service daily rather than monthly paid for short-term or long-term stay at Elderly Care Service Center. Internet was the most popular channel for the sampling group to find information about Elderly Care Service Center. They will choose the Elderly Care Service Center which is located near their house or their living place, and the expense they could afford to pay per month is approximately 15,001 – 20,000 bahten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161402.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons