Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6827
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภรณ์ภสุ พลสำเภา, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T04:34:30Z-
dc.date.available2023-06-28T04:34:30Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6827-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนามัคคุเทศก์ไทยของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (2) ศึกษาวิธีการในการพัฒนามัคคุเทศก์ที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการพัฒนามัคคุเทศก์ไทยของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (3) รวบรวมปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนามัคคุเทศก์ไทยของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักศึกษา ระดับชั้นปี ที่ 4 ของมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา สาขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว และบริการ จํานวน 307 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 148 คนโดยใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า (1) ประสิทธิผลการพัฒนามัคคุเทศก์ของมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านแล้ว พบว่าประสิทธิผลการ พัฒนามัคคุเทศก์ด้านทัศนคติ บุคลิกภาพ ความรู้และทักษะอยู่ในระดับมาก (2) วิธีการในการพัฒนามัคคุเทศก์มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลในการพัฒนามัคคุเทศก์อยู่ในเชิงบวกระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านแล้วพบว่าการพัฒนามัคคุเทศก์ไทยโดยวิธีการฝึกอบรม การพัฒนาในงาน การศึกษานอกระบบ การศึกษาในระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับประสิทธิผลในการพัฒนามัคคุเทศก์ในระดับปานกลางตามลําดับ (3) ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนามัคคุเทศก์โดยรวมยังขาดการเรียนรู้ภาษาที่สามและขาดการส่งเสริมทางด้านภาคปฏิบัติ ซึ่งสามารถแก้ไขได้โดยสร้างความร่วมมือกบสถาบันการอบรมและหน่วยงานต่าง ๆ ที่ส่งเสริม การท่องเที่ยวได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมัคคุเทศก์--ไทยth_TH
dc.subjectมาตรฐานการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการพัฒนาคุณภาพมัคคุเทศก์ไทยของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาth_TH
dc.title.alternativeThe quality development for Thai guides of Suan Sunandha Rajabhat Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was (1) to study the effectiveness of Thai guide development of Suan Sunandha Rajabhat University (2) to study developing methods for Thai guides that related to the effectiveness of Thai guide development of Suan Sunandha Rajabhat University. (3) to collect problems, obstacles and recommendations for Thai guide development of Suan Sunandha Rajabhat University. This study was a survey research. Population consisted 307 senior students of Suan Sunandha Rajabhat University who were majoring in tourism industries and service department. Samples were 148 students. Sampling method was simple sampling. Research tools was a questionnaire. Statistics used for data analysis employed percentage, frequency, mean, standard deviation and Pearson Product Moment Correlation. The findings revealed that (1) an overall image of the effectiveness of Thai guide development of Suan Sunandha Rajabhat University Sunandha Rajabhat University was at high level. Considered each aspect, it was found that attitudes, personality, knowledge and skills was at high level (2) developing methods for Thai guides showed positive correlated with the effectiveness of Thai guide development of Suan Sunandha Rajabhat University at moderate level. Considered each aspect, it was found that methods by mean of training, work enrichment, non-formal education, formal education and informal education had positive correlation with the effectiveness of Thai guide development of Suan Sunandha Rajabhat University at moderate level, respectively (3) problems and obstacles were lack of third language learning and practices. This could be solved by collaborating partnerships with educational institutions and tourism promotion agenciesen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_156076.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons