Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6832
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวชิรวุธ ยิ่งยง, 2517- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T06:18:00Z-
dc.date.available2023-06-28T06:18:00Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6832-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับคุณภาพชีวิตการทํางานของข้าราชการฝ่ายปกครองในจังหวัดยะลา (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทํางานของข้าราชการฝ่ายปกครองในจังหวัดยะลา การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษาวิจัยได้แก่ ข้าราชการฝ่ายปกครองในจังหวัดยะลา ตําแหน่ง ปลัดจังหวัด นายอําเภอ ปลัดอําเภอ เจ้าหน้าที่ ปกครอง เจ้าหน้าที่การเงิน และพนักงานราชการ ไม่น้อยกว่า 1 ปีที่ปฏิบัติราชการที่จังหวัดยะลา เท่านั้น จํานวน 221 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ โดยใช้สูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ ได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง เท่ากับ 142 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าไคสแควร์ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณภาพชีวิตการทํางานของข้าราชการฝ่ายปกครองในจังหวัดยะลา โดยรวมมีคุณภาพชีวิตการทํางานในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า คุณภาพชีวิต การทํางานที่มีระดับคุณภาพชีวิตการทํางานสูงเป็นอันดับ 1 คือด้านความพอใจในงานและอาชีพ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคุณภาพชีวิตการทํางานกับคุณภาพชีวิตการทํางานของข้าราชการฝ่ ายปกครองในจังหวัดยะลา พบว่า ปัจจัยคุณภาพชีวิตการทํางาน ด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและ ยุติธรรม สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย การพัฒนาความสามารถบุคคล ความก้าวหน้าและ ความมั่นคง การทํางานร่วมกันและความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ข้อตกลงเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของคลากรในงานที่ทําความสมดุลระหว่างงานและชีวิตส่วนตัว และความเกี่ยวข้องของงาน กับประโยชน์ต่อสังคม มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ คุณภาพชีวิตการทํางานของข้าราชการ ฝ่ายปกครองในจังหวัดยะลา ในระดับมากถึงปานกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้าราชการฝ่ายปกครอง--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการฝ่ายปกครองในจังหวัดยะลาth_TH
dc.title.alternativeQuality of life the work of Civil Servants Administrations in Yala Provincesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study the quality of working life of government officials in Yala province. (2) to study factors related to quality of work life of government officials in Yala. This independent research is quantitative research. The study population was Government officials in Yala Province, Deputy Permanent Secretary, Provincial Permanent Secretary Finance Officer And government officials The sample size used for this independent study was 221 persons. The sample size was 142 persons by Taro Yamane formula. The instruments used in the study were the questionnaire. Statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, chi-square, and Pearson's product moment correlation coefficient. The study indicated that: (1) quality of working life of government officials in Yala Overall, there is a high level of work-life. When considering each side, explain that. The highest quality of work life was the satisfaction of the job and the occupation. (2) the relationship between personal factors and the quality of work life of government officials in Yala showed that the level of education correlated with the quality of working life of government officials in Yala. Factors related to gender, age, marital status, income type, position And time in the area. The relationship between quality of work life and work quality of government officials in Yala province was found to be related to the quality of work life of the government officials in Yala province. The working life of government officials in Yala is adequate and fair. Environment and safety Personal Development Progress and security Collaboration and relationships with others Agreement on the rights and duties of personnel in the work. The balance between work and personal life. And the relevance of the work to the society. In a relationship with Quality of working life of government officials in Yalaen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_156077.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons