Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/683
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรีชา วิหคโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมพงษ์ แตงตาด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพันธณีย์ วิหคโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพนิตานันท์ นุชรักษ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T10:42:49Z-
dc.date.available2022-08-17T10:42:49Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/683-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาข้อมูลที่จำเป็นในระเบียนสะสมบนคอมพิวเตอร์เพื่อการแนะแนวสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา (2) พัฒนาระเบียนสะสมบนคอมพิวเตอร์เพื่อการแนะแนวสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา และ (3) ศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อระเบียนสะสมบนคอมพิวเตอร์เพื่อการแนะแนวสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญทางการแนะแนวจำนวน 30 คน ที่ได้ด้วยวิธีการสุ่มตามต้องการ ครูประจำชั้น จำนวน 6 คน และนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 32 คน ได้ด้วยวิธีการลุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่จำเป็นในระเบียนสะสมบนคอมพิวเตอร์เพื่อการแนะแนวสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา และ แบบสอบถามความคิดเห็นของครูและ นักเรียนที่มีต่อระเบียนสะสมบนคอมพิวเตอร์เพื่อการแนะแนวสำหรบนักเรียนระดับ ประถมศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย พบว่า (1) ข้อมูลที่จำเป็นในระเบียนสะสมบนคอมพิวเตอร์เพื่อการแนะแนวสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา มี 4 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลส่วนตัวนักเรียน มีจำนวน 22 รายการ ข้อมูลแนะแนวด้านการศึกษา จำนวน 15 รายการ ข้อมูลแนะแนวด้านอาชีพ จำนวน 8 รายการ ข้อมูลแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม จำนวน 14 รายการ รวมทั้งสิ้น 59 รายการ (2) ระเบียนสะสมบนคอมพิวเตอร์เพื่อการแนะแนวสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา มี 7 ส่วน ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนตัวนักเรียน ข้อมูลแนะแนวด้านการศึกษา ข้อมูลแนะแนวต้านอาชัพ ข้อมูลแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม ข้อมูลแนะแนวนักเรียนเป็นรายบุคคล ข้อมูลรวมทั้งห้อง และข้อมูลโรงเรียน (3) ผลการศึกษาความคิดเห็นของครูและนักเรียนที่มีต่อระเบียนสะสมบนคอมพิวเตอร์เพื่อการแนะแนวสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา พบว่าระเบียนสะสมบนคอมพิวเตอร์นี้สามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ระตับดีมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.76-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแนะแนวการศึกษาth_TH
dc.subjectแฟ้มผลงานทางการศึกษาth_TH
dc.titleการพัฒนาระเบียนสะสมบนคอมพิวเตอร์เพื่อการแนะแนวสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาth_TH
dc.title.alternativeThe development of a cumulative record for guidance on computer for elementary school pupilsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.76-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) study the needed information in guidance cumulative records on computer for elementary school pupils; (2) develop the guidance cumulative records program on computer for elementary school pupils; and (3) study the opinions towards guidance cumulative records program on computer for elementary school pupils.The sample consisted of 30 purposively selected guidance experts 1 six elementary school teachers and 32 pupils in Prathom Suksa IV - VI obtained by simple random sampling The data collecting instruments were a questionnaire to obtain opinions on needed information in guidance cumulative records for elementary pupils and a questionnaire to assess teachers’ andpupil’s opinions towards the developed guidance cumulative record on computer. Statistical procedures for data analysis were the median, interquartile range, mean, and standard deviation.Research findings were as follows (1) The needed information in guidance cumulative records on computer for elementary school pupils had four parts comprising a total of 59 items : 22 items on pupil’s background information ะ 15 items on educational guidance, 8 items on career guidance, and 14 items on personal and social guidance. (2) The developed guidance cumulative record on computer for elementary school pupils had seven parts comprising pupil's background information, educational guidance information, career guidance information, personal and social guidance information, classroom information, and school information. (3) Teachers and pupils had opinions that the developed guidance cumulative record on computer could be applied in guidance practice at the highly appropriate levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83276.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons