Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/684
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมโภช รติโอฬาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจีราภรณ์ โชติพฤกษ์ชูกุล, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T10:48:15Z-
dc.date.available2022-08-17T10:48:15Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/684-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุข ตามความคิดเห็นของบุคลากรสาธารณสุข ผู้บังคับบัญชา และผู้ร่วมงาน (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรสาธารณสุข ผู้บังคับบัญชา และผู้ร่วมงานเกี่ยวกับสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุข (3) ศึกษาผลกระทบของการศึกษาที่มีต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขและข้อเสนอแนะ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรสาธารณสุขที่กำลังศึกษาต่อในหลักสูตรประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์เทียบเท่าปริญญาตรี (ต่อเนื่อง 2 ปี) ภาคพิเศษวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครลำปาง ผู้บังคับบัญชา และผู้ร่วมงาน จำนวนกลุ่มละ 130 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุข 8 ด้าน ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.9736 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขตามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่ม อยู่ในระดับสูงถึงสูงมาก โดยเฉพาะสมรรถนะด้านคุณธรรมและจริยธรรม (2) ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่ม เกี่ยวกับสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขเป็นรายด้านทั้ง 8 ด้าน ไม่มีความแตกต่างกัน (3) ผลกระทบต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขตามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่ม ในด้านบวกพบว่าการศึกษาต่อทำให้ได้รับความรู้ใหม่ๆ เพิ่มขึ้นสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในการปฏิบัติงานได้เลย และยังสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับเจ้าหน้าที่คนอื่น ๆ ได้ ส่วนด้านลบ พบว่า ทำให้สุขภาพทรุดโทรม เครียด และค่าใช้จ่ายสูงขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.123-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุข--ไทยth_TH
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุข--การทำงานth_TH
dc.titleสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขที่เข้ารับการศึกษาต่อในหลักสูตรประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์เทียบเท่าปริญญาตรี (ต่อเนื่อง 2 ปี) ภาคพิเศษ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปางth_TH
dc.title.alternativeWork competency of public health workers who are continuing their Bachelor's Degree in Nursing Science (Special Program of Continuing Education)th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.123-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this survey research were (1) to examine the opinions of public health workers, bosses and colleagues on work competency of public health workers; (2) to compare those opinions among public health workers, bosses and colleagues; (3) to examine the impacts of the continuing education on work competency of the public health workers and the recommendations. The study samples were public health workers who were continuing their 2- year bachelor’s degree in special program of nursing science at Baroma Rajonnani College of Nursing in Nakon Lampang, their bosses and colleagues. There were 130 samples in each group. The opinions on 8 aspects of public health worker’s work competency were elicited by using questionnaires, of which their reliability estimate was 0.9736. Data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, t-test and One-way ANOVA. The results of the study were (1) the public health worker’s work competency was rated high and very high by each sample group, particularly the ethic and moral aspects; (2) there was no significant difference between the opinions of each sample group on eight aspects of the public health worker’s work competency; (3) the opinions of each sample group on the positive impact of the continuing education on the public health worker’s work competency indicated that the pubic health workers had gained more new knowledge which was applicable to their work and was transferable to others; on the other hand, the negative one was detrimental to health, emotional stress, and increased expenseen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83130.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons