Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6858
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประเสริฐ สุทธิประสิทธิ์ | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | ชาวไร่ กาญจโนมัย, 2511- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-28T07:48:39Z | - |
dc.date.available | 2023-06-28T07:48:39Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6858 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อกำหนดการจัดการไร่องุ่นไวน์ ตามมาตรฐานสากลการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (2) การนำระบบมาตรฐานสากลการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี มาประยุกต์ใช้ในธุรกิจไร่องุ่น (3) ประสิทธิภาพการผลิตองุ่น เมื่อได้ดำเนินงานตามมาตรฐานสากลการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยตรวจสอบ โดยได้มีการพัฒนาร่างข้อกำหนดการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) สำหรับองุ่น จากนั้นนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการของไร่องุ่นหัวหินฮิลส์ บริษัทสยามไวเนอรี่ เทรดดิ้งพลัส จำกัด ซึ่งตั้งอยู่ที่ตำบลหนองพลับ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ แล้วรวบรวมข้อมูลจาก ปริมาณผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ คุณภาพผลผลิตและต้นทุนผันแปร นำมาวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิต เปรียบเทียบระหว่างปีที่ปฏิบัติตามมาตรฐานสากลการปฎิบัติทางการเกษตรที่ดี (2010 และ 2011)และปี ที่ยังไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานสากลการปฎิบัติทางการเกษตรที่ดี (2009) โดยใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ คือ ค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า (1) ข้อกำหนดประกอบด้วย เกณฑ์กำหนด และวิธีตรวจประเมิน ตามมาตรฐานสากลการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) สำหรับองุ่น มีหัวข้อของข้อกำหนด ดังนี้คือ 1) แหล่งน้า 2) พื้นที่ปลูก 3) การใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตร 4) การจัดการในกระบวนการผลิตก่อนเก็บเกี่ยว 5) การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว6) การเก็บรักษาและขนย้าย 7) สุขลักษณะส่วนบุคคล และ 8) การบันทึกข้อมูลและการตามสอบ (2) ขั้นตอนการนำร่างมาตรฐานสากลการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) มาประยุกต์ใช้ในธุรกิจไร่องุ่น มีขั้นตอนดังนี้ 1) ให้ความรู้กับหัวหน้างาน คนงาน และผู้เกี่ยวข้อง 2) ดัดแปลงตารางการให้สารเคมี จากบันทึกช่วยจำเป็นโปรแกรมซอฟ์ แวร์ 3) มีการวิเคราะห์ดินเป็นประจำ 4) ปลูกปอเทืองก่อนทำแปลงองุ่นและใส่ปุ๋ยคอกทุกปี 5) ใส่ปุ๋ยเคมีไปกับระบบน้า หยดเพื่อเป็นการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ 6) มีการปลูกพันธ์องุ่นที่ต้านทานโรคและแมลงเพิ่มขึ้น ทำให้ใช้สารเคมีน้อยลง 7) มีการเก็บเกี่ยวในเวลาที่เหมาะสมรวมทั้งทำการวิเคราะห์สารตกค้างด้วย 8) มีการใช้เครื่องจักรที่ทันสมัยและปรับปรุงระบบการบำรุงรักษาเครื่องจักรอย่างเป็นระบบ พร้อมทำบันทึกการทำงานซึ่งสามารถตรวจสอบได้ตลอดเวลา 9) พนักงานและคนงานมีรายได้และสวัสดิการอย่างเหมาะสมซึ่งสามารถดำรงชีพได้อย่างมีความสุข และก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (3) เมื่อมีการปรับปรุงระบบการทำงานตามมาตรฐานสากลการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีแล้ว ทำให้ประสิทธิภาพการผลิตดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเจนโดยปริมาณผลผลิตองุ่นแดงเพิ่มขึ้นจากปี 2009 เป็นร้อยละ 117.65 และ 190.43 ในปี 2010 และ 2011 ตามลำดับ และองุ่นเขียวเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 256.77 และ 319.77ตามลำดับ สำหรับผลผลิตต่อไร่ องุ่นแดงเพิ่มขึ้นจากปี 2009 เป็นร้อยละ 129.31 และ 172.41 ในปี 2010 และ 2011 ตามลำดับ และองุ่นเขียวเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 113.89 และ 151.39 ตามลำดับ และสำหรับคุณภาพผลผลิตจะวัดจากเปอร์เซ็นต์ความหวาน โดยองุ่นแดงเพิ่มขึ้นจากปี 2009 เป็นร้อยละ 2.77 และ 4.95 ในปี 2010 และ 2011 ตามลำดับ และองุ่นเขียวเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 11.01 และ 10.22 ตามลำดับ ส่วนต้นทุนผันแปรเฉลี่ยต่อไร่มีแนวโน้มลดลง โดยลดลงร้อยละ 5.00ในปี 2011 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.107 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | องุ่น--การปลูก | th_TH |
dc.subject | หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิต | th_TH |
dc.title | ประสิทธิภาพของการผลิตเมื่อได้ดำเนินงานตามมาตรฐานสากลการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี : กรณีศึกษา บริษัทสยามไวเนอรี่ เทรดดิ้ง พลัส จำกัด | th_TH |
dc.title.alternative | Production Efficiency after Implementation of Good Agricultural Practices : A Case study Siamwinery Trading Plus Company Limited | en_US |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2012.107 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.107 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to study; (1) the Procedure of International standard Good Agricultural Practice for vineyard (2) modification international standard Good Agricultural Practice for practical operation in vineyard and (3) production efficiency of vineyard. Research was survey research: which created procedure of Intenational Standard Good Agricultural Practice for vineyard and then modify for practical operation in Hua Hin Hills Vineyard, Siamwinery Trading Plus Company Limited. located at Hua Hin, Prachubkirikhan. After 2 years of implementation, collected concerned data as production (ton.), yield (T./rai), quality (%brix) and variable cost and then analyse comparision between a year before implementation GAP (2009) and 2 years with GAP (2010 and 2011). The Statistics were percentage, mean and average differential. The research findings were that: (1) Draft of the procedure of International standard “Good Agricultural Practice” is as 1) Water resource 2) Planting area 3) Chemical application 4) Production management 5) Post harvest management 6)Storage and Transfer 7) Human resource 8) Information and trace back available (2) The modification of GAP can be done for practical operation in Hua Hin Hills Vineyard as 1) Technical transfer to all concerned persons 2) Modify software program for chemical application 3) Soil analysis 4) Improve soil fertility by planting legume and apply manure every year 5) Use fertigation system 6) Plant more pest resistance variety 7) Suitable timing for picking include residue analysis 8) Mechanical management as suitable maintenance and reporting system 9) Suitable income for all staffs and growth available (3) After implementation of GAP, the production efficiency was clearly increasing as Production of red grape increases from 2009 to be 117.65% and 190.43% on 2010 and 2011 and Production of white grape increases from 2009 to be 256.77% and 319.77% on 2010 and 2011. Average yield of red grape increases from 2009 to be 129.31% and 172.41% on 2010 and 2011 and Average yield of white grape increase from 2009 to be 113.89% and 151.39%. %Brix of red grape increases from 2009 to be 2.77% and 4.95% on 2010 and 2011 and %Brix of white grape increases from 2009 to be 11.01% and 10.22%. The variable cost per rai reduce to be 5.00% on 2011. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
134115.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License