Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6870
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กัลยานี ภาคอัต | th_TH |
dc.contributor.author | สมบูรณ์ แซ่อึ่ง, 2507- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-28T08:43:42Z | - |
dc.date.available | 2023-06-28T08:43:42Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6870 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์การเคลื่อนไหวของผลตอบแทนหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (2) ศึกษาบทบาทของตัวแปรทางการเงินของฟาร์มาและเฟรนซ์ในการอธิบาย การเคลื่อนไหวของผลตอบแทนหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (3) ศึกษาผลกระทบทางฤดูกาลของผลตอบแทนตลาดในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้ศึกษาจากประชากรคือ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่มิใช่สถาบันการเงิน และกลุ่มโรงพยาบาล ซึ่งมีข้อมูลทางการเงินครบถ้วนสำหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 ถึง 31 ธันวาคม 2554 โดยข้อมูลทางการเงินดังกล่าวเป็นข้อมูลทุติยภูมิซึ่งประกอบด้วย ราคาปิดรายสัปดาห์ มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด อัตราส่วนราคาตลาดต่อกำไรต่อหุ้น และมูลค่าตามบัญชีต่อมูลค่าตามตลาด ของ บริษัทจดทะเบียน รวมทั้งดัชนีตลาดหลักทรัพย์ สำหรับระยะเวลาดังกล่าวข้างต้น การวิจัยดำเนินการตามลำดับ ดังนี้ 1) เก็บรวมรวมและแยกประเภทข้อมูล 2) คำนวณตัวแปรทางการเงิน ผลตอบแทนหุ้นสามัญและ ผลตอบแทนตลาด 3) วิเคราะห์การเคลื่อนไหวของผลตอบแทนหุ้นสามัญโดยใช้กราฟเส้น 4) ใช้สมการถดถอยภาคตัดขวางเพื่อระบุบทบาทของตัวแปรทางการเงินในการอธิบายการเคลื่อนไหวของผลตอบแทนหุ้นสามัญ 5) ใช้สมการถดถอยแบบอนุกรมเวลาเพื่อศึกษาผลตอบแทนทางฤดูกาลของผลตอบแทนตลาด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ สถิติที สถิติเอฟ และค่าพี ผลการวิจัยพบว่า (1) การเคลื่อนไหวของผลตอบแทนหุ้นสามัญมีความผันผวนค่อนข้างมาก ในช่วงที่ทำการศึกษา โดยผลตอบแทนสูงสุดประมาณ 4 % อยู่ในช่วงสัปดาห์สุดท้ายของปี 2551 และ ผลตอบแทนต่ำสุดคือ 2 % อยู่ในช่วงสัปดาห์สุดท้ายของเดือนกันยายน 2552 สำหรับสัปดาห์อื่น ๆ ผลตอบแทน มีการเคลื่อนไหวขึ้นลงอยู่ระหว่าง -1 ถึง 3 % (2) มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดเป็นตัวแปรสำคัญเพียงตัวแปร เดียวที่สามารถอธิบาย การเคลื่อนไหวของผลตอบแทนหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (3) การเคลื่อนไหวของผลตอบแทนตลาดในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยไม่แสดงความเป็นฤดูกาลในช่วงเวลาที่ทำการศึกษา | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | หุ้นสามัญ--อัตราผลตอบแทน | th_TH |
dc.subject | หุ้นและการเล่นหุ้น--ไทย | th_TH |
dc.title | ผลตอบแทนหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Stock returns in the Stock Exchange of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to analyze the movement of stock returns in the Stock Exchange of Thailand (SET) (2) to study the role of Fama and French’s finance factors in explaining the variation in stock return in the SET (3) to study the seasonal effect of market returns in the SET In this research, population were employed for studying. They were all listed companies in the SET, excluding Finance Sector and Health Care Services Sector, which showed the complete financial data from the period 1st January 2550 to 31st December 2554. The data were secondary data, comprising of weekly closed price, market capitalization, price carning ratio and book to market ratio of listed companies including SET index in the same period. The research was performed as follows: 1) collect and classify the data 2) calculate finance factors, stock returns, and market returns 3) analyse the movement of stock returns by using line graph 4) define the role of finance factors by using cross sectional regression and 5) study seasonal effect of market returns by employing time series regression. T-statistics, F- statistics and P-Value were used to test the research variables. The research results indicate that (1) the movement of stock returns in the research period was very fluctuant. The highest and the lowest returns were about 4% and 2% respectively. They appeared at the last week of year 2551 and the last week of September 2552. For other weeks, the returns were gradually changed between -1 to 3%. (2) arketcapitalization was only one important factor in explaining the variation in stock returns in the SET. (3) In the research period, there was no market returns seasonal effect in the SET. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ชยงการ ภมรมาศ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
134597.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 838.48 kB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License