Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6872
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยานี ภาคอัตth_TH
dc.contributor.authorภัทรพล เลาหุไรกุล, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T08:55:20Z-
dc.date.available2023-06-28T08:55:20Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6872en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์ผลตอบแทน และความเสี่ยงของกองทุนรวมตราสารทุน (2) วิเคราะห์กลยุทธ์การลงทุน ของผู้บริหารกองทุนรวมตราสารทุน (3) ประเมินผลการดำเนินงาน ของกองทุนรวมตราสารทุน การวิจัยครั้งนี้ศึกษาจากประชากรคือกองทุนรวมตราสารทุนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ดำเนินการต่อเนื่องตลอดช่วงเวลา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 ถึง วันที่ 31 กรกฏาคม 2555 มีจำนวนทั้งสิ้น 230 กองทุน ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งประกอบด้วย มูลค่าสินทรัพย์สุทธิรายเดือนของกองทุนรวมตราสารทุน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกองทุนรวมตราสารทุน ดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และอัตราผลตอบแทนจากพันธบัตรรัฐบาลอายุ 12 เดือน สำหรับระยะเวลาตั้งแต่ มกราคม 2553 ถึง กรกฏาคม 2555 การวิจัยดำเนินตามลำดับดังนี้ 1) คำนวณผลตอบแทนของกองทุนรวมตราสารทุน และผลตอบแทนตลาด 2) ประมาณความเสี่ยงของ กองทุน 3) วิเคราะห์ผลตอบแทนและความเสี่ยงของกองทุนรวมตราสารทุน 4) วิเคราะห์ความสามารถในการคัดสรรหน่วยลงทุน และความทันต่อสภาวะการณ์ทางตลาดของผู้จัดการกองทุนโดยใช้ตัวแบบของ Mazuy (1968) 5) ประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนรวมตราสารทุน โดยใช้มาตรวัดของชาร์ป เทรเนอร์ และ เจนเซน ผลการวิจัยพบว่า (1) กองทุนรวมตราสารทุนจำนวน 57 กองทุนให้อัตราผลตอบแทนสูงกว่าอัตราผลตอบแทนตลาด โดยแต่ละกองทุนให้อัตราผลตอบแทนประมาณ ร้อยละ 3.00 ในขณะที่อัตรผลตอบแทนตลาดเท่ากับ ร้อยละ 1.74 เมื่อพิจารณาเรื่องความเสี่ยงพบว่ากองทุนจำนวน 110 กองทุนมีความเสี่ยงต่า กว่าความเสี่ยงตลาดโดยค่าดัชนีเบต้าเฉลี่ยเท่ากับ 0.83 ขณะที่กองทุนที่เหลือ 120 กองทุน มีความเสี่ยงสูงกว่าความเสี่ยงตลาดโดยค่าดัชนีเบต้าสูงกว่า 1 (2) ผู้จัดการกองทุนรวมตราสารทุนส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 62.17 ดำเนินกลยุทธ์เชิงรุกในการจัดการกองทุนรวม ส่วนที่เหลือร้อยละ 13.5 ใช้กลยุทธ์แบบผสม ร้อยละ 3.91 ใช้กลยุทธ์เชิงรับ และอีกร้อยละ 20.42 ไม่ชัดเจนว่าใช้กลยุทธ์ใด ในการจัดการกองทุนรวม (3) เมื่อใช้มาตรวัดของชาร์ป เทรเนอร์ และ เจนเซน ประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนรวมตราสารทุนจะเห็นได้ว่ากองทุนเปิดบัวแก้ว 2 กองทุนเปิดบัวหลวงธนคม กองทุนเปิดอเบอร์ดีนสมอลแค็พ และไทยไพรมฟันด์เป็นกองทุนที่แสดงผลการดำเนินงานดีที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.83en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกองทุนรวม--ไทยth_TH
dc.subjectตราสารทุน--ไทยth_TH
dc.subjectการวิเคราะห์การลงทุน--ไทยth_TH
dc.titleการวิเคราะห์การลงทุนของกองทุนรวมตราสารทุนไทยth_TH
dc.title.alternativeAnalysis of Thai Equity Fund investmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.83-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.83en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to analyze the returns and risk (2) to analyse the investment strategy of fund manager, and (3) to evaluate the performance of Thai Equity Fund. In this research , population , 230 equity funds listed in the Stock Exchange of Thailand (SET) , were used for studying . Those funds were operated continuously from 1st January 2553 to 31st July 2555. The data employed in this study were secondary data comprising of monthly net asset value (NAV), and standard deviation of all equity funds, SET index, and government bond yield of 12 months in the period as above. The research was conducted as follows: 1) calculate the fund returns and the market returns 2) estimate the fund risks 3) analyses the return and risk of equity funds 4) analyse the selection and the market timing ability of find managers using the Mazuy (1968) model and 5) evaluate the performance of equity funds using Sharpe, Trey nor, and Jenson measurements. The research results revealed that (1) The returns of 57 equity funds were higher than market returns in the research period. Interestingly, each of those funds generated its return around 3% whereas the market returns had equal to 1.74% . In considering the risk, 110 equity funds were lower risk than the market risk, (β=0.83) while 120 equity funds had higher (β >1). (2) Most fund managers, approximately 62.17% managed their funds using active strategy. The rest 13.5% and 3.91% concentrated on hybrid strategy and passive strategy , respectively. For 20.42% of fund managers , it was not clear about the strategy. (3) By using Sharpe, Treynor, and Jensen measurements , the results revealed that Buakaew 2 openend fund , Bualuang Thanakom open-end fund, Aberdun Small Cap open – end fund, and Thai Prime Fund Showed the best performances.en_US
dc.contributor.coadvisorชยงการ ภมรมาศth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
134599.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons