Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6877
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเสาวนีย์ โรจนบุรานนท์, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-29T00:31:19Z-
dc.date.available2023-06-29T00:31:19Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6877-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความสาเร็จของการบริหารงานตามเกณฑ์ การพัฒนาเพื่อรับรองคุณภาพมาตรฐานโรงพยาบาลของโรงพยาบาลเสนา (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จใน การดำเนินงานตามเกณฑ์การพัฒนาเพื่อการรับรองคุณภาพมาตรฐานโรงพยาบาลของโรงพยาบาลเสนา (3) ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการดำเนินงานตามเกณฑ์การพัฒนาเพื่อการรับรองคุณภาพมาตรฐาน โรงพยาบาลของโรงพยาบาลเสนา การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาประชากรทั้งหมดซึ่งได้แก่ ข้าราชการ และลูกจ้างประจำของ โรงพยาบาลเสนา จำนวน 330 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) ความสำเร็จของการบริหารงานตามเกณฑ์การพัฒนาเพื่อรับรองคุณภาพ มาตรฐานโรงพยาบาลของโรงพยาบาลเสนา อยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยสนับสนุนการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อ ความสำเร็จในการดำเนินงานตามเกณฑ์การพัฒนาเพื่อการรับรองคุณภาพมาตรฐานโรงพยาบาลของโรงพยาบาล เสนาในภาพรวม ได้แก่ค่านิยมร่วม กลยุทธ์ รูปแบบการบริหาร บุคลากร และระบบ โดยตัวแปรทั้ง 5 ร่วมกัน พยากรณ์ความสำเร็จได้ร้อยละ 68.9 (3) ปัญหาอุปสรรค บุคลากรโรงพยาบาลขาดความรู้ความเข้าใจในระบบ การพัฒนาคุณภาพขาดการประสานงานและความร่วมแรงร่วมใจในการปฏิบัติงานเป็นทีม ตลอดจน ขาด งบประมาณ ขาดแคลนเครื่องมือและอุปกรณ์ในการจะนำ ไปสู่การพัฒนาคุณภาพงานและบริการ ขาดแรงจูงใจใน การพัฒนาคุณภาพ ข้อเสนอแนะ คือผู้บริหารควรส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพอย่างทั่วถึงและ ต่อเนื่องกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพและการทำงานเป็นทีม ส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรมเพิ่มทักษะ และมีจิตสำนึกเต็มใจบริการ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความกระตือรือร้น รวมทั้งเพื่อเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ควรได้รับการจัดสรรงบประมาณในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะงบประมาณด้านวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ และการพัฒนาเทคโนโลยีในการให้บริการประชาชน งบประมาณในการปรับปรุงอาคารสถานที่ที่ให้บริการ เพื่อความเพียงพอและพร้อมสำหรับการให้บริการประชาชน รวมถึงค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานนอกเวลา ทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพบังเกิดขวัญ กำลังใจในการปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.295en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.titleการบริหารงานตามเกณฑ์การพัฒนาและรับรองคุณภาพมาตรฐานโรงพยาบาลของโรงพยาบาลเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeAdministration according to the Hospital Quality Development and Accreditation Standard of Sena Hospital, Pha Nakhon Si Ayutthaya Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were to study (1) success levels of the administration of Sena Hospital according to hospital quality development criteria in order to achieve standard quality accreditation; (2) factors affecting the success of the operation of Sena Hospital according to hospital development criteria in order to achieve standard quality accreditation and (3) problems, obstacles, and recommendation to improve the operation of Sena Hospital according to hospital development criteria in order to achieve standard quality accreditation. This was a study of whole population consisted of 330 government officials and employees of Sena Hospital. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis. The results showed that (1) success level of the administration of Sena Hospital according to hospital development criteria in order to achieve standard quality accreditation was at high level (2) factors affecting the success of the operation were shared value, strategy, style, staff and system, all 5 variables could predict operational success at 68.9 percent (3) problems and obstacles were : lack of knowledge and understanding of personnel on quality development system, lack of coordination and cooperation to work as teams, lack of budget, including appropriate equipment supporting quality development of operation and service delivery, together with lack of motivation of personnel to improve service quality; recommendations were: the management should enhance knowledge and understanding of personnel on quality development thoroughly and continuously, encourage working in teams to improve quality, provide training to personnel so to enhance their service mind, their enthusiasm, together with their eager to become learning organization, allocate sufficient budget to units involved particularly budget on material and medical equipment, on the development of public service technology, and on the renovation of facilities so to have enough service space ready to render service to the public, moreover, remuneration should be brought into consideration as well: personnel should be paid more for working overtime which would result in their morale, thus more operational efficiency could be expecteden_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
134782.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons