Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6879
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลักษณา ศิริวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรุ่งทิวา จันทรวิชิต, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-29T00:53:01Z-
dc.date.available2023-06-29T00:53:01Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6879-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนของเทศบาลตำบลขุนทะเล อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่าย พลเรือนของเทศบาลตำบลขุนทะเล อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี (3) แนวทาง เสริมสร้างแรงจูงใจอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนของเทศบาลตำบลขุนทะเล อำเภอเมือง สุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจซึ่งศึกษาประชากรทั้งหมด ได้แก่ อาสาสมัครป้อง กันภัยฝ่ายพลเรือนของเทศบาลตำบลขุนทะเล 160 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอย พหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนของเทศบาลตำบลขุนทะเล มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ได้แก่ การยอมรับนับถือ ความสำเร็จในการปฏิบัติงาน ความรับผิดชอบ รวมทั้งการบังคับบัญชาและการนิเทศงาน (3) แนวทางเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน คือ ผู้บริหารควรส่งเสริมการสร้างความสุขในการทำงาน โดยผ่านทางการสอนแนะวิธีการทำงาน ให้ลุล่วง การบริหารที่มีหลักเกณฑ์แบบแผน การสร้างสภาพแวดล้อมที่ดี จัดอุปกรณ์ทำงานอย่าง พอเพียง และให้การยอมรับรวมทั้งมีความเชื่อมั่นในความสามารถของอาสาสมัครth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.296en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)th_TH
dc.subjectการจูงใจ (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ของเทศบาลตำบลขุนทะเล อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeWork motivation of Civil Emergency Relief Volunteers of Khuntalae Tambon Municipality, Muang Surat Thani District, Surat Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research were to study 1) operational motivation level of Civil Protection Volunteers of Khuntalae Sub-district Municipality, Muang Suratthani District, Suratthani Province 2) factors affecting operational motivation of Civil Protection Volunteers of Khuntalae Sub-district Municipality, Muang Suratthani District, Suratthani Province 3) appropriate ways to enhance Civil Protection Volunteers of Khuntalae Sub-district Municipaity, Muang Suratthani District, Suratthani Province. This was a survey research studying whole population consisted of 160 Civil Protection Volunteers of Khuntalae Sub-district Municipality. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. Research results revealed that 1) operational motivation of Civil Protection Volunteers of Khuntalae Sub-district Municipality, Muang Suratthani District, Suratthani Province was at high level 2) factors motivating operational motivation were recognition, achievement, responsibility, together with supervision and illustration 3) to enhance operational motivation, the management should foster the feelings of happiness in work through work supervision, managing according to appropriate principle, arranging pleasant environment, provisioning of sufficient work equipment, and showing recognition and confidence in abilities of volunteersen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
134786.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons