Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/687
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยยงค์ พรหมวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุจินต์ วิศวธีรานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนารีรัตน์ สกลกิจผล, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T11:09:13Z-
dc.date.available2022-08-17T11:09:13Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/687-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, 2546.th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์วิชาวิทยาศาสตร์ กายภาพชีวภาพเรื่องสารสังเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายให้มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ที่กำหนดไว้ (2)ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนชองนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพเรื่องสารสังเคราะห์ และ(3)ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนจากชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพเรื่องสารสังเคราะห์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปืที่ 5 โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบางเขน จำนวน 39 คน โดยสุ่มแบบหลายชั้นตอน เครื่องมีอที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพเรื่องสารสังเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจำนวน 3 หน่วยประสบการณ์ ประกอบด้วยหน่วยประสบการณ์ที่ 9 การผลิตเสันใย หน่วยประสบการณ์ที่ 10 การทดสอบสมบัติของเส้นใย และหน่วยประสบการณ์ที่ 11 การใช้เสันใย (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ(3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อความเหมาะสมของชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การหาประสิทธิภาพด้วยค่า E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) จุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพ เรื่องสารสังเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่พัฒนาขึ้นทั้ง 3 หน่วยประสบการณ์มีประสิทธิภาพ 77.67/79.52, 83.90/83.80และ78.05/80.47 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) นักเรียนมีความก้าวหน้าจากการเรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ(3) นักเรียนมีความคิดเห็นว่าชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.49-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ชีวภาพ--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการสอน--แบบเรียนสำเร็จรูปth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพเรื่องสารสังเคราะห์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of experience - based instructional packages on synthetic substances in the physical and biological science subject for upper secondary students in Bangkok Educational Service Area, zone 2th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.49-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) develop experience-based instructional packages on Synthetic Substances in the Physical and Biological Science subject for upper secondary students to meet the set efficiency criteria; (2) study the learning progress of students who learned from the developed instructional packages; and (3) study the students’ opinions who learned from the experience-based instructional packages on Synthetic Substances in the Physical and Biological Science subject. The research sample consisted of 39 Mathayom Suksa V students of Rattanakosinsomphote Bangkhen School. They were obtained by multistage random sampling. Research instruments consisted of (1) three unitson the Synthetic Substances, namely, Unit 9: Production of Synthetic Fiber, Unit 10: Property Testing of Synthetic Fiber, and Unit 11: Use of Synthetic Fiber; (2) achievement tests for pre-and post-testing; and (3) a questionnaire to assess students’ opinions toward the experience-based instructional packages. Research findings revealed that (1) the three experience-based instructional packages units on Synthetic Substances were efficient at 77.67/79.52,83.90/83.80 and 78.05/80.47 respectively, meeting the setefficiency criteria of80/80; (2) students’ learning progress was significantly increased at the .05 level; and (3) students had the opinions that the developed experience-based instructional packages were appropriate at the very high levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83285.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.56 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons