Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/688
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภัทรวรรณ พิมพา-
dc.contributor.authorวันเพ็ญ นันทะศรี-
dc.contributor.authorอภิสิทธิ์ สมศรีสุข-
dc.date.accessioned2022-08-17T11:17:24Z-
dc.date.available2022-08-17T11:17:24Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 13, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2563), หน้า 132-144th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/688-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้และตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลโครงสร้างตัวบ่งชี้ขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นครูผู้สอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 จำนวน 500 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหว่าง 0.60 – 1.00 มีค่าอำนาจจำแนก ระหว่าง 0.21 – 0.78 ความเชื่อมั่นทั้งฉบับ 0.97 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า ตัวบ่งชี้ขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 23 ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก 20 องค์ประกอบย่อย และ 83 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ 1) ด้านค่าตอบแทน 16 ตัวบ่งชี้ 2) ด้านความพึงพอใจในการปฏิบัติงานจำนวน 20 ตัวบ่งชี้ 3) ด้านสภาพแวดล้อมการทำงานจำนวน 17 ตัวบ่งชี้ 4) ด้านความก้าวหน้าในอาชีพ 11 ตัวบ่งชี้ และ 5) ด้านบทบาทผู้บริหาร 19 ตัวบ่งชี้ และโมเดลโครงสร้างขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานของครู สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไคสแควร์ เท่ากับ 93.27 ค่าองศาอิสระ เท่ากับ 96 ค่านัยสำคัญทางสถิติ เท่ากับ 0.55 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน เท่ากับ 0.98 ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว เท่ากับ 0.96 ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ เท่ากับ 0.00 ค่าดัชนีที่แสดงขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ยอมรับ เท่ากับ 685.72 และค่าน้ำหนักองค์ประกอบมีค่าตั้งแต่ 0.39 – 0.94th_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectตัวบ่งชี้ทางการศึกษาth_TH
dc.titleการพัฒนาตัวบ่งชี้ขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of morale indicators of teachers in School under Secondary Educational Service Area Office 23th_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to develop the morale indicators of teachers, and examine the congruence between the developed structure model of morale indicators of teachers and empirical data. The research samples were 500 teachers in school under the Secondary Educational Service Area Office 23. The Samples were selected by using multistage random sampling. The research instruments were a 5 rating scales questionnaire with content validity valve between 0.60 to 1.00, the discriminative power between 0.21 and 0.78, and the reliability was 0.97. The collected data was analyzed by using the statistical package program. The results revealed that. The teachers’ morale indicators consisted of 5 principle components, 20 sub-components and 83 indicators. These indicators could be categorized as 1) 16 indicators of the compensation; 2) 20 indicators of the satisfaction of work; 3) 17 indicators of the working environment; 4) 11 indicators of the career path; and 5) 19 indicators of the administrator role. The structural model of indicators of teacher provided the congruence with the empirical data Chi-square = 93.27, degree of freedom (df) = 96, p-value = 0.55, goodness-of-fit index (GFI) = 0.98, adjusted goodness-of-fit index (AGFI) = 0.96 root mean square error of approximation (RMSEA) = 0.000 Critical N (CN) = 685.72 and the factor loadings were between 0.39-0.94en_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
44305.pdfเอกสารฉบับเต็ม533.6 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons