Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6906
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนนทจิตร เนตรพุกกณะ, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-29T06:27:31Z-
dc.date.available2023-06-29T06:27:31Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6906-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหาในการบริหารการพัฒนากรมคุม ประพฤติ (2) เพื่อวิเคราะห์การบริหารการพัฒนากรมคุมประพฤติในด้านโครงสร้าง อำนาจหน้าที่ และ กระบวนการดำเนินงาน (3) เพื่อเสนอแนวทางในการบริหารการพัฒนากรม คุมประพฤติ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากจากเอกสาร รายงาน ระเบียบ และ กฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และทำการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกข้าราชการกรมคุมประพฤติผู้ที่มีบทบาท สำคัญในการบริหารการพัฒนากรมคุมประพฤติ จำนวนทั้งหมด 12 คน ในด้านโครงสร้าง อำนาจหน้าที่ และกระบวนการดำเนินงาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัญหาในการบริหารการพัฒนากรมคุมประพฤติด้านโครงสร้าง มีการ จัดโครงสร้างไม่สอดรับกับอำนาจหน้าที่ บทบาท ภารกิจงานคุมประพฤติ และการปฏิบัติงานจริงรวมถึง อัตรากำลังและปริมาณงานที่มีอยู่ในปัจจุบัน ด้านอำนาจหน้าที่ การดำเนินงานตามหน้าที่ที่ได้รับยัง ไม่ชัดเจนต่อภารกิจการคุมประพฤติ และด้านกระบวนการดำเนินงาน ยังขาดการเชื่อมโยงและใช้หลัก บูรณาการอย่างแท้จริง เน้นการทำงานด้านเอกสารมากเกินไป และยังมีงานตามนโยบายมาก ทำให้ การดำเนินงานในส่วนงานหลักเกิดความล่าช้า (2) การวิเคราะห์การบริหารการพัฒนากรมคุมประพฤติใน ด้านโครงสร้าง การจัดโครงสร้างในปัจจุบันมีการขยายภารกิจ หน่วยงาน และการกระจายอำนาจ การดำเนินงานต่าง ๆ จากส่วนกลางไปสู่ส่วนภูมิภาคมากกว่าในอดีต ด้านอำนาจหน้าที่ อำนาจหน้าที่ใน ปัจจุบันไม่ได้แตกต่างจากอดีต แต่เป็นการกำหนดอำนาจหน้าที่เพิ่มเติมจากอดีตเพื่อให้เกิดความ ครอบคลุมในการดำเนินงาน และด้านกระบวนการดำเนินงาน ปัจจุบันกรมคุมประพฤติมีการปรับ กระบวนการบริหารงานค่อนข้างน้อยจากที่ดำเนินการมาในอดีต (3) ข้อเสนอแนวทางด้านโครงสร้าง ควรจัดโครงสร้างองค์การให้สอดคล้องกับเป้าหมาย พันธกิจ และยุทธศาสตร์ขององค์การ และควรมี การกำหนดนโยบายการบริหารที่ชัดเจน เอื้อต่อการทำงานในปัจจุบัน ด้านอำนาจหน้าที่ ควรมีกฎหมาย รองรับภารกิจทุกด้าน ด้านกระบวนการดำเนินงาน ควรมีแนวทางในการพัฒนาโดยการปรับลดขั้นตอน และมอบอำนาจในการปฏิบัติงานให้ชุมชนมากขึ้นเพื่อรองรับภารกิจในอนาคตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.96en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมคุมประพฤติ -- การบริหารth_TH
dc.titleการวิเคราะห์การบริหารการพัฒนากรมคุมประพฤติth_TH
dc.title.alternativeAnalysis of development administration of Department of Probationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were to (1) analyze the problems of Department of Probation’s development administration; (2) analyze development administration of Department of Probation in aspects of organization structure, authorities, and work process; and (3) propose guidelines for the development administration of Department of Probation. This study was a qualitative research based on the information from written material including reports, rules and regulations, and related laws; the in-depth interview from 12 officials playing a leading role in managing the Department’s development on organizational structure, duties and responsibilities, and work process; together with content analysis from conclusion and analytic comparison of written material and interview mentioned above. Research result revealed the followings (1) on organizational structure: the structure itself was not aligned with duties and responsibilities, roles, missions on probation service and rehabilitation of offenders, work performance, manpower, and workload; on authorities aspect: the tasks and responsibilities delegated did not clearly reflect the missions on probation service and rehabilitation of offenders; as for work process, there was lack of linkages and integration, too much emphasis on paper work, too many extra tasks assigned on basis of policy, which resulted in the delay of main tasks (2) when analyze the development administration of Department of Probation; it was found that present organizational structure reflected more of the expansion of tasks, units, and the increasing of decentralization; than in the past; as for authority aspect, present authority was not different from that in the past, more authorities were delegated, though, to cover the expanded duties; as for work process, there was less process improvement than in the past (3) recommendations were: organizational structure should be more aligned with organization objectives, mission and strategies; clear administration policy should be formulated to foster personnel performance; as for authority, all tasks should be supported by laws and regulations; as for work process, process streamline was necessary together with the encouragement of community participation in order to meet its future assigned missionsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137368.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons