Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6920
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจําลอง นักฟ้อน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนาตยา อดิศัยนิกร, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-29T07:13:19Z-
dc.date.available2023-06-29T07:13:19Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6920en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบทบาทของผู้บริหารในการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2 (2) เปรียบเทียบบทบาทของผู้บริหารในการ ส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2 ตามทัศนะ ของผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการและหัวหน้าช่วงชั้นในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จําแนกตามวุฒิการศึกษา ของผู้บริหารสถานศึกษาและประเภทของสถานศึกษา และ (3) ศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทของผู้บริหารในการ ส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา 54 คน หัวหน้างานวิชาการ 4 คนและหัวหน้าช่วงชั้น 118 คน รวม 26 คน จากสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2 จํานวน 4 แห่ง ได้มาโดย การกําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางเกรซและมอร์แกนโดยใช้การสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ 99 สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่ายบนมาตรฐานการทดสอบค่าที และการวิคราะห์ค่าความ แปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้บริหารสถานศึกษามีระดับการปฏิบัติตามบทบาทในการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2) ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีระดับวุฒิการศึกษาต่างกันและปฏิบัติงานในสถานศึกษา ต่างประเภทกันจะมีระดับการปฏิบัติตามบทบาทของผู้บริหารในการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนไม่แตกต่างกัน และ (3) ข้อเสนอแนะที่สําคัญเกี่ยวกับบทบาทของผู้บริหารในการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียน ได้แก่ ควรมีการประชุม ชี้แจงเพื่อสร้างความตระหนักและกระตุ้นถึงความสําคัญของประโยชน์ของการทําวิจัยในชั้นเรียน ควรมีการจัดสรร งบประมาณสนับสนุนในการทําวิจัยในชั้นเรียนอย่างเป็นรูปธรรม ควรเชิญวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้ในการวิจัยใน ชั้นเรียนเพื่อเป็นผลงานในการขอเลื่อนวิทยฐานะและควรมีการพัฒนาการจัดการข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการวิจัยใน ชั้นเรียนให้สมบูรณ์และทันสมัยด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษา -- วิจัยth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน -- ไทย -- นราธิวาสth_TH
dc.titleบทบาทของผู้บริหารในการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2th_TH
dc.title.alternativeThe administrator's roles in promotion of classroom research of basic education schools under the Office of Narathiwat Educational Service Area 2th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_121973.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons