Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6942
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญth_TH
dc.contributor.authorพิมพ์สุรีย์ พงษ์เสือ, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T02:00:57Z-
dc.date.available2023-06-30T02:00:57Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6942en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรคือ นักศึกษาระดับปริญญาตรีทั้งชายและหญิงทั่วประเทศที่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ กำหนดขนาดตัวอย่าง จำนวน 400 คน โดยการเปิดตารางยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ ไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุต่า กว่า 20 ปี ศึกษาในคณะวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ระดับชั้นปี ที่ 3 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,001 – 10,000 บาท เป็นสมาชิกเครือข่ายสังคมออนไลน์เฟซบุ๊คมากที่สุด และเข้าใช้งานบ่อยที่สุด โดยมีเหตุผลเพื่อติดต่อกับเพื่อน กิจกรรมที่กระทำในเครือข่ายสังคมออนไลน์ คือ การสนทนา กลุ่มตัวอย่างมีการใช้บริการในช่วงเวลา 21.00 – 01.00 น. และใช้ บริการทุกวัน วันละ 3 ชั่วโมงขึ้นไป โดยเข้าใช้งานจากที่บ้าน หรือหอพักมากที่สุด ผู้ที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มากที่สุด คือ ตนเอง และส่วนใหญ่ใช้โน้ตบุ๊คในการเข้าใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ และเข้าถึงโดยการใช้วายฟาย กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการเข้าถึงเครือข่ายสังคมออนไลน์ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านเพศกับพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ พบว่า เพศมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ทั้ง 5 ด้าน คือด้านการเลือกใช้เว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ ด้านช่วงเวลา ด้านสถานที่ ด้านผู้มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้และด้านค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ สำหรับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ปัจจัยด้านรายได้กับพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ พบว่า รายได้มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3 ด้าน คือ ด้านการเลือกใช้เว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ ด้านช่วงเวลา และด้านสถานที่ในการใช้ และปัจจัยด้านรายได้ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มี 2 ด้าน คือ ผู้มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้เว็บไซต์ และค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.346en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเครือข่ายสังคมออนไลน์--การศึกษาการใช้th_TH
dc.titleพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีth_TH
dc.title.alternativeBehavior of using social network online of undergraduatesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.346-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.346en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to study the behavior of using social network online of undergraduates. This study was a survey research. The sample in this study consisted of 400 undergraduate students, both men and women throughout the country, calculating by Yamane formula at 95% level of confidence. The instrument used for collecting data was questionnaire. The statistical tools employed for statistical analysis were frequency, percentage, and the chi – square test. The result showed that most of the respondents were women, aged below 20 years, in the third year of the Faculty of Engineering and had an average income of 5,001 to 10,000 baht. They were members of a social network—Facebook the most and used their service for chatting among friends. The respondents used the service between 9.00 p.m. to 01.00 a.m. for three hours a day. Most of respondents played at homes or dormitories. They themselves selected the social network by using notebooks for accessing social network and Wi – Fi (Free - Wi-Fi) service. Most of the respondents did not pay for using the social network online. Analysis of the relationship between gender and behavior of using the social network online found that the behavior of using social network online was related to gender in five aspects: selecting website social network online, period, place, an influential person affecting the decision and the cost. The behavior of using the social network online that was related to income of the respondents was selecting website social network online, period and the place. The income was not related to behavior of using the social network online in areas of an influential person affecting the decision and the cost of using social network online.en_US
dc.contributor.coadvisorอดิลล่า พงศ์ยี่หล้าth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
139736.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.48 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons