Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6947
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorไตรรัตน์ โภคพลากรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฐจารีย์ จินดาวงศ์, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T02:39:30Z-
dc.date.available2023-06-30T02:39:30Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6947-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของอาสาสมัคร พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครศรีธรรมราช ในการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม (2) เปรียบเทียบระดับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ในการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัจจัยจูงใจ ในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครศรีธรรมราช ในการเฝ้าระวัง และเตือนภัยทางสังคมและ (4) ศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะเพื่อเสริมสร้างประสิทธิผลในการ ปฏิบัติงานของอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครศรีธรรมราช ในการเฝ้าระวังและ เตือนภัยทางสังคม การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือประชากรทั้งหมด ซึ่งได้แก่ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 325 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ซึ่งได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ซึ่งได้แก่ การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัดนครศรีธรรมราช ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ผู้ที่มี เพศ อายุ รายได้ต่างกันมีระดับ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคมไม่แตกต่างกัน ส่วนผู้ที่มีระดับการศึกษา และอาชีพ ต่างกัน มีระดับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัจจัยจูงใจที่ ส่งผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานได้แก่ความพอใจในหน้าที่งานและสัมพันธภาพ โดยตัวแปรทั้งสอง สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานได้ร้อยละ 46.60 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 (4) ปัญหาอุปสรรค ที่สำคัญ ได้แก่ ปัญหาในการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานภาครัฐ ข้อเสนอแนะที่สำคัญ คือ ควรสร้าง แรงจูงใจให้แก่อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เช่น จัดสิทธิและสวัสดิการต่าง ๆ แก่อาสาสมัคร รวมทั้งการตรวจสุขภสพประจำปี นอกจากนั้น ควรจัดให้มีการศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ และควรเพิ่มจำนวนอาสาสมัครให้มากขึ้นในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.405en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์th_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยจูงใจที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคมth_TH
dc.title.alternativeMotivating factors affecting the performance of Nakhon Si Thammarat social and security development volunteers on surveillance and social warningth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to (1) study effectiveness level of the performance of Nakhon Si Thammarat Social and Security Development Volunteers on surveillance and social warning (2) compare performance effectiveness of Nakhon Si Thammarat Social and Security Development Volunteers on surveillance and social warning by personal factors (3) study motivating factors affecting the performance of Nakhon Si Thammarat Social and Security Development Volunteers on surveillance and social warning and (4) study problems, obstacles and recommend appropriate approaches to enhance performance effectiveness of Nakhon Si Thammarat Social and Security Development Volunteers on surveillance and social warning. This research was a survey research studying whole population consisted of 325 Nakhon Si Thammarat Social and Security Development Volunteers. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were descriptive statistics including frequency, percentage, mean, standard deviation and inferential statistics, which included t-test, One-Way analysis of Variance, and multiple regression. The results showed that (1) effectiveness level of the performance of Nakhon Si Thammarat Social and Security Development Volunteers was at high level (2) no differences were found among effectiveness levels of volunteers with differences in gender, age, and income level, while volunteers with differences in education level and occupation had different levels of effectiveness with statistical significance level at 0.05 (3) motivating factors affecting the performance were job satisfaction and volunteers relationship, both variables could predict performance effectiveness at 46.60 percent with statistical significance level at 0.05 (4) major obstacle was problem on funding support from the government, major recommendations were volunteers’ motivation should be enhanced through the provision of appropriate welfare and benefits including annual health examination, moreover, observation study should be arranged to increase the volunteers’ knowledge and experiences, lastly, numbers of volunteers in the province should be increaseden_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
139956.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons