Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6957
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัตth_TH
dc.contributor.authorมานิจ รำมะนา, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T03:20:39Z-
dc.date.available2023-06-30T03:20:39Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6957en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ศึกษาระดับประสิทธิผลในการบริหารจัดการน้ำชลประทานในคูส่งน้ำ ของฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 4 โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาหนองหวาย จังหวัดขอนแก่น (2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการบริหารจัดการน้ำชลประทานในคูส่งน้ำ ของฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 4 โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาหนองหวาย จังหวัดขอนแก่น (3) เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับประสิทธิผลในการบริหารจัดการน้ำชลประทานในคูส่งน้ำ ของฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา ที่ 4 โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาหนองหวาย จังหวัดขอนแก่นจำแนกตามพื้นที่ และ (4) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกรเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการบริหารจัดการน้ำชลประทานในคูส่งน้ำ ของฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 4 โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาหนองหวาย จังหวัดขอนแก่น ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ เกษตรกรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่และใช้น้ำชลประทานในคูส่งน้ำ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 4 โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาหนองหวาย จังหวัดขอนแก่น ที่เป็นสมาชิกกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทานในคูส่งน้ำ ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 4 จำนวน 796 ราย กลุ่มตัวอย่าง 266 ราย คำนวณจากสูตรของทาโร่ ยามาเน่เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สุ่มตัวอย่างแบบสะดวก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัย พบว่า (1) ประสิทธิผลการการบริหารจัดการน้ำชลประทานในคูส่งน้ำ ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการบริหารจัดการน้ำชลประทานในคูส่งน้ำ ได้แก่ การบริหารจัดการของเจ้าหน้าที่ ชลประทาน การบริหารจัดการของเกษตรกรผู้ใช้น้ำชลประทานในคูส่งน้ำ และการมีส่วนร่วมของเกษตรกร โดยตัวแปรทั้ง 3 สามารถอธิบายความมีประสิทธิผลได้ร้อยละ 89.90 (3) เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับประสิทธิผลในการบริหารจัดการน้ำชลประทานในคูส่งน้ำ ของฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา ที่ 4 โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาหนองหวายจังหวัดขอนแก่นจำแนกตามพื้นที่ พบว่าความคิดเห็นของกลุ่มสมาชิกต้นคูส่งน้ำและกลุ่มสมาชิกกลางคูส่งน้ำไม่แตกต่างกัน (4) ปัญหาเกี่ยวกับบริหารจัดการน้ำชลประทานในคูส่งน้ำ พบว่า ปลายคูส่งน้ำได้รับน้ำน้อยและล่าช้าไม่สม่ำเสมอ ขาดงบประมาณในการดูแลรักษาคูส่งน้ำ เกษตรกรขาดความรู้ความเข้าใจ ในการใช้น้ำชลประทาน สำหรับข้อเสนอแนะ พบว่า ควรจัดอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร และควรมีการจัดประชุมก่อนส่งน้ำ ซึ่งจะทำให้ประสิทธิผลการบริหารจัดการน้ำชลประทานในคูส่งน้ำสูงขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectชลประทาน--ไทยth_TH
dc.subjectการจัดการน้ำ--ไทยth_TH
dc.titleประสิทธิผลการบริหารจัดการน้ำชลประทานในคูส่งน้ำ : กรณีศึกษาโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาหนองหวาย : จังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativeEffectiveness of irrigation management in water supply ditch of the IV operation and maintenance Branch, Nong Wai Operation and maintenance project, Khon Kaen Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were to: (1) study effectiveness level of irrigation management in water supply ditch of the IV operation and maintenance branch, Nong Wai operation and aintenance project, Khon Kaen province; (2) study factors affecting the efectiveness of irrigation management in water supply ditch of the IV operation and maintenance branch, Nong Wai operation and maintenance project, Khon Kaen province; (3) compare opinions of farmers on effectiveness level of irrigation management in water supply ditch of the IV operation and maintenance branch, Nong Wai operation and maintenance project, Khon Kaen province, classified by areas (4) study problems and suggestions of farmers to increase the effectiveness of irrigation management in water supply ditch of the IV operation and maintenance branch, Nong Wai operation and maintenance project, Khon Kaen province Population consisted of 796 members of farmer groups living in the area using water supply ditch of the IV operation and maintenance branch, Nong Wai operation and maintenance project, Khon Kaen province, from which 266 samples were obtained through Yamane calculation method. Instrument used was questionnaire. Convenient random sampling was applied. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, t- test, one-way Analysis of Variance and regression analysis. Research result revealed that (1) in the overall view, the effectiveness of irrigation management in water supply ditch was in high level (2) factors affecting the effectiveness of irrigation management in water supply ditch included the management of irrigation officials, the management of farmers using irrigation water in the irrigation ditch and the participation of the farmers, all 3 variables could forecast the effectiveness at 89.90%; (3) when compared the opinions, no differences were found between opinions of the two farmer groups located on upper and middle ditch (4) major problems were: the water received at the lower ditch was only small amount and not consistent, lack of budget for ditch maintenance, also, the farmers were lack of knowledge and understanding on using irrigation water, suggestions were: training should be provided to farmers to increase their knowledge, meetings should be held before irrigating, so consequently management effectiveness of water supply ditch of the IV operation and maintenance branch could be ensured.en_US
dc.contributor.coadvisorอิทธิเดช จันโททัยth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140323.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons