Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6965
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลัดดา วัจนะสาริกากุลth_TH
dc.contributor.authorณิชาภา ยายิรัมย์, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T03:46:44Z-
dc.date.available2023-06-30T03:46:44Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6965en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีต่อส่วนประสมการตลาดของคอมพิวเตอร์แบบพกพา (2) ระดับความภักดีต่อต่อตราสินค้าคอมพิวเตอร์แบบพกพาของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจกับความภักดีต่อตราสินค้าคอมพิวเตอร์แบบพกพาของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประชากรในการวิจัย คือ นักศึกษาภาคปกติที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย จำนวน 113,845 คน สุ่มตัวอย่างใช้วิธีแบบหลายขั้นตอนจากการคำนวณโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน โดยมีจำนวนของ กลุ่มตัวอย่าง 383 คน การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในเขต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีต่อคอมพิวเตอร์แบบพกพาอยู่ในระดับมาก ซึ่งเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการจัดจำหน่าย อยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้านการส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับปานกลาง (2) ระดับความภักดีต่อตราสินค้า ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีต่อคอมพิวเตอร์แบบพกพา อยู่ในระดับมาก ซึ่งเมื่อพิจารณาวัดความภักดีทั้ง 2 ประเภท พบว่า ความภักดีต่อตราสินค้าเชิงทัศนคติและเชิงพฤติกรรม อยู่ในระดับมาก (3) ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจกับความภักดีต่อตราสินค้าคอมพิวเตอร์แบบพกพาของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีค่าเท่ากับ 0.556 ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.348en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความภักดีต่อชื่อตราผลิตภัณฑ์th_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์พกพาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจและความภักดีต่อตราสินค้าคอมพิวเตอร์แบบพกพาของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeRelationship between satisfaction and brand loyalty towards notebook computers of Rajabhat University students in Northeastern Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI/10.14457/STOU.the.2013.348-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.348en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed at studying (1) satisfaction level of Rajabhat University students towards marketing mix factors of a notebook computer; (2) brand loyalty level on notebook computers of Rajabhat University students; and (3) relationship between satisfaction and brand loyalty towards notebook computer of Rajabhat University students in the northeastern region. The research population was 113,845 students studying at Rajabhat University students in the area of northeastern region. The samples consisted of 383 people using multi-stage sampling by Krejcie and Morgan’s Table. The instrument used for collecting data was questionnaire. Statistical analyses were percentage, mean, standard deviation and Pearson correlation coefficient. The results revealed that: (1) satisfaction level of Rajabhat University students in the northeastern region towards notebook computers was at high level. When considering each aspects of marketing mix factors, it was found that in aspect of products, price and distribution were at high level except marketing promotion was at moderate level. (2) Brand loyalty level on notebook computers of Rajabhat University students in the northeastern region was at high level. When considering into two types of brand loyalty, it was found that the attitudinal behavioral was at high level. (3) Relationship between satisfaction and brand loyalty towards notebook computers of Rajabhat University students in the northeastern region was equal to 0.556, which was a positive relationship on many levels and statistically significant at the level of 0.01en_US
dc.contributor.coadvisorรัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์th_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140325.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons