Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6968
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบริบรูณ์ ปิ่นประยงค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนนทิวัฒน์ หล่อสุวรรณศิริ, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T03:55:09Z-
dc.date.available2023-06-30T03:55:09Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6968-
dc.description.abstractการศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา(1)ปัจจัยในการตัดสินใจซื้อและพฤติกรรมในการซื้อ ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี (2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผล ต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ประชากร ที่ตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี โดยไม่ทราบจำนวนประชากร ที่แน่นอน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรของทาโร ยามาเน่ ได้จำนวนทั้งสิ้น 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ ผู้บริโภคส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิงอายุระหว่าง 26-35ปี สถานภาพโสด ระสับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพ รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 -45,000 บาท เลือกบริโภคขนมปัง บ่อยที่สุด เหตุผลที่ซื้อเบเกอรี่เพราะรสชาติ เพื่อนเป็นผู้ที่มีส่วนในการตัดสินใจ เวลาส่วนมาก ที่ซื้อเบเกอรี่คือช่วงเวลา 12.01 - 15.00 น. ซื้อโดยการเข้าไปซื้อที่ร้าน และค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ย 60-150 บาท ต่อครั้ง(2)ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อปัจจัยในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานีอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยทางด้านช่องทางการจัดจำหน่ายมีอิทธิพล สูงสุด และปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาดมีอิทธิพลน้อยสุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectเบเกอรี--การจัดซื้อth_TH
dc.subjectการเลือกของผู้บริโภค--ไทย--อุดรธานีth_TH
dc.subjectการเลือกซื้อสินค้า.th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ.th_TH
dc.titleปัจจัยในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting buying decision of bakery products in Muang District, Udon Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to (1) study factors affecting buying decision and behavior of bakery products in Muang District, Udon Thani Province, and (2) study marketing mix factors affecting buying decision of bakery products in Muang District, Udon Thani Province. The population of this study was infinite people who buy bakery products in Muang District, Udon Thani Province. The sample size was calculated by Taro Yamane's Formula and resulted in 400 samples, using stratified random sampling. A questionnaire was used as a tool for collecting data. Descriptive statistics including frequency, percentage, mean and standard deviation, as well as inferential statistics, Chi-square, were used for data analysis. The results showed that (1) respondents were single female, aged between 26-35 years old, held bachelor’s degree, and worked as government/state enterprise officers with an average monthly income between 30,001-45,000 THB. The reason why most of the respondents chose to consume bakery was taste. The time they would most likely consume bakery was 12.01 - 15.00 hours and consume at store by themselves. The average price was 60-150 THB. (2) Marketing mix factors affecting buying decision of bakery products in Muang District, Udon Thani Province was at a high level. The distribution channel factors had the highest level while marketing promotion factors had the lowest levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_160372.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons