Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6976
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอัจฉรา โพธ์ิดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทศพล บัวผัน, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T06:05:50Z-
dc.date.available2023-06-30T06:05:50Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6976-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาประสิทธิผลในการบริหารเพื่อการพัฒนาแหล่งน้ำ ใน พื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ด (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและการปัจจัยด้าน บริหารองค์การกับประสิทธิผลในการบริหารเพื่อการพัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ด (3) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเกษตรกรผู้ใช้น้ำ เกี่ยวกับ ประสิทธิผลในการบริหารเพื่อการพัฒนาแหล่งน้ำ ในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ดและ (4) เสนอแนะแนว ทางการปรับปรุงการบริหารเพื่อพัฒนาแหล่งน้ำ ในเขตพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง ทั้งหมด จำนวน 125 คน และเกษตรกรผู้ใช้น้ำ จำนวน 15,936 คน ในเขตพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างคือ บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดและเกษตรกร 390 คน คำนวณโดยสูตรของยามาเน่ รวมกลุ่มตัวอย่าง 515 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สุ่มตัวอย่างแบบโควต้า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์เพียร์สัน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า (1) ในภาพรวมบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเกษตรกรผู้ใช้น้ำ มีความเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลในการบริหารเพื่อการพัฒนาแหล่งน้ำ ในเขตพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ อยู่ในระดับมาก (2) ทั้งปัจจัยสิ่งแวดล้อมและปัจจัยด้านการบริหารองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลในการบริหาร เพื่อการพัฒนาแหล่งน้ำ ในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยปัจจัยด้านกายภาพ ด้านสังคม ด้านการติดตามและตรวจสอบ และด้านการดำเนินงานมีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลในระดับปานกลาง นอกนั้นมีความสัมพันธ์ในระดับน้อย (3) เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นพบว่า ผู้ปฏิบัติงานขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นและเกษตรกรผู้ใช้น้ำ มีความเห็นแตกต่างกันเกี่ยวกับประสิทธิผลในการบริหารเพื่อการพัฒนาแหล่ง น้ำ ในเขตพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการบริหาร เพื่อพัฒนาแหล่งน้ำ ได้แก่ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการวางแผนงานพัฒนาแหล่งน้ำของกรมชลประทานมากขึ้น โดยการส่งเสริมและเพิ่มบทบาทของกลุ่มผู้ใช้น้ำ ที่ได้รับการจัดตั้งในระดับพื้นที่เพื่อเสนอ คัดกรอง เรียงลำดับ ความสำคัญของแผนงานและมีส่วนร่วมในการติดตามและตรวจสอบth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพัฒนาแหล่งน้ำ -- ไทย -- ร้อยเอ็ดth_TH
dc.titleประสิทธิผลในการบริหารเพื่อการพัฒนาแหล่งน้ำในทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ดth_TH
dc.title.alternativeManagement effectiveness of water resource development in Tungkularhonghai, Roi Et Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to (1) study the management effectiveness of water resource development in Tungkularhonghai, Roi Et Province (2) study the relationship between environmental and organizational management factors and the effectiveness of water resources management in Tungkularhonghai, Roi Et Province (3) compare the opinions of local government officials and farmers involved on the efficiency of water resources management in Tungkularhonghai, Roi Et Province and (4) recommend the appropriate approach to improve the efficiency of water resources management in Tungkularhonghai, Roi Et Province Population consisted of 125 officials involved from local government in the area, including 15,936 farmers in Tungkularhonghaii, Roi Et Province. Samples of 515 were from 125 officials and 390 farmers derived from Yamane calculation method. Instrument used was questionnaire. Quota random sampling was applied. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson correlation coefficient, and t-test. The results showed that (1) in the overall view, opinions of local government officials and the farmers involved on the effectiveness of water resources management in Tungkularhonghai, Roi Et Province were in high level (2) both the environmental and organizational management factors had positive relationship with the effectiveness in water resources management development in Tungkularhonghai at 0.05 level of statistical significance, with physical, social, mornitoring, and operation aspects having medium relationship while other aspects having low relationship (3) when compared the opinions of the officials and the farmers, difference was found with 0.05 level of statistical significance (4) to improve the management of water resources development, more participation in planning and development of irrigation water should be provided to the community through promoting and enhancing the role of water user groups in the area so that they could have more chances to propose, screen, and prioritize the project plan as well as more chances to monitor and track the progress of the project outcomeen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140347.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons