Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6986
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาวิน ชินะโชติ | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฐวดี จอมชนะ, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-30T06:40:14Z | - |
dc.date.available | 2023-06-30T06:40:14Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6986 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการรับรู้ภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มีต่อตลาดคนเดินจังหวัดกระบี่ (2) เปรียบเทียบการรับรู้ภาพลักษณ์การท่องเที่ยว ของนักท่องเที่ยวต่างชาดิที่มีต่อตลาดคนเดินจังหวัดกระบี่ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ กลุ่มนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มาตลาดถนนคนเดินจังหวัดกระบี่ คำนวณหาขนาดกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ทราบจำนวนประชากร และสัดส่วนของประชากร โดยการคำนวณตามสูตรของคอแครน ด้วยวิธีการสุ่มโดยบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการศึกษา คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าที ค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและค่าความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มาท่องเที่ยวตลาดถนนคนเดินจังหวัดกระบี่ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 21-30 ปี อาชีพพนักงานบริษัท มีรายได้ที่ 45,001-60,000 บาท สัญชาติจีน และมีวัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยวเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ (2) การรับรู้ภาพลักษณ์ การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มีต่อตลาดถนนคนเดินจังหวัดกระบี่ โดยรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน ได้แก่ ด้านสิ่งดึงดูดใจ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านที่พัก และด้านการคมนาคมขนส่ง มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | นักท่องเที่ยวต่างชาติ | th_TH |
dc.subject | การรับรู้ | th_TH |
dc.subject | การท่องเที่ยว--การตลาด | th_TH |
dc.subject | การจัดการตลาด | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | การรับรู้ภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มีต่อตลาดถนนคนเดินจังหวัดกระบี่ | th_TH |
dc.title.alternative | Foreign tourist perception toward tourism image of walking street market in Krabi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed (1) to study the perception of tourism image of foreign tourists toward Walking Street Market in Krabi province; and (2) to compare the perception of tourism image of foreign tourists toward Walking Street Market in Krabi province. The number of population in this quantitative research was unknown foreign tourists who came to the Walking Street Market in Krabi province. The sample size was calculated by using the formula of the Cochran in the case of unknown proportion, using accidental sampling technique. The statistics employed in this study were frequency, percentage, mean, standard deviation, hypothesis testing with t-test and one-way ANOVA analysis. The results of this study revealed that (1) most foreign tourists visiting Walking Street Market in Krabi province were male, age between 21-30 years, working as company employees, earning 45,001-60,000 baht, with Chinese nationality and the purpose of tourism was for leisure; and (2) the tourism image of foreign tourists toward Walking Street Market in Krabi province was overall at the highest level. When considered each aspect separately it was overall at the highest level in all aspects, that is, attraction things was at the highest, followed by amenity, accommodation, and accessibility had the lowest mean. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_161051.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License