Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7017
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลชลี จงเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเนาวรัตน์ เยาวนาถ, 2537-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-30T07:45:52Z-
dc.date.available2023-06-30T07:45:52Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7017en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับของ ภาวะผู้นําเชิงนวัตกรรม ของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กําแพงเพชร เขต 2 และ (2) เพื่อศึกษาแนวทางการ พัฒนา ภาวะผู้นําเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา กําแพงเพชร ครู กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร เขต 2 ปี การศึกษา 2562 จํานวน 302 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบชั้นภูมิ และใช้วิธีการสุ่มแบบง่าย ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็น แบบสอบถามมาตรประมาณค่า มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .99 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน สําหรับข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภาวะผู้นําเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับปาน กลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลําดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ การทํางานเป็นทีม การสร้างแรงจูงใจ ให้แก่บุคลากร การมอบหมายงาน/การกระจายอํานาจ ความสามารถในการเรียนรู้เพื่อสร้างนวัตกรรม การมี วิสัยทัศน์เพื่อการเปลี่ยนแปลง การสร้างบรรยากาศแห่งนวัตกรรมในสถานศึกษา กล้าเสี่ยงและกล้าตัดสินใจ การมี ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ ตามลําดับ (2) แนวทางการพัฒนา ภาวะผู้นําเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร สถานศึกษา พบว่า (2.1) ควรศึกษาข้อมูล และยอมรับการเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบัน นําความรู้ที่ได้รับมา พัฒนาวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา ยึดหลักความเป็นจริง (2.2) ควรมีการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล และเข้าร่วม กิจกรรมทางวิชาการต่างๆ (2.3) ควรปรับตัวให้เข้ากับบุคลากรในทีมของตนเอง และศึกษาเรียนรู้งานในสถานศึกษา (2.4) ควรศึกษาหาความรู้ หรือข้อมูล รวมทั้งกฎหมายต่างๆ โดยยึดถือความถูกต้องของการทํางานตามระเบียบแบบ แผน (2.5) ควรใช้ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ นํามาใช้ในสถานศึกษา ควรเผยแพร่ความรู้ด้าน เทคโนโลยีและนวัตกรรมให้แก่บุคลากร (2.6) ควรศึกษาข้อมูลจากต้นแบบที่ประสบความสําเร็จด้านการพัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรม นํามาปรับใช้ในสถานศึกษา พร้อมทั้งแสวงหาแนวคิดในการทํางานรูปแบบใหม่ (2.7) ควร มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น เพื่อศึกษาวิธีการสร้างแรงจูงใจให้แก่บุคลากร (28) ควรศึกษาหรือเรียนรู้ ความถนัด ความสามารถของบุคลากร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการมอบหมายงานและการกระจายอํานาจให้ดียิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 2th_TH
dc.title.alternativeGuidelines for development of innovative leadership of school administrators under Kamphaeng Phet Primary Educational Service Area Office 2th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the level of innovative leadership of school administrators under Kamphaeng Phet Primary Educational Service Area Office 2 and (2) to study guidelines for development of innovative leadership of school administrators under Kamphaeng Phet Primary Educational Service Area Office 2. The sample consisted of 302 teachers under Kamphaeng Phet Primary Educational Service Area Office 2 during the academic year 2019, obtained by stratified and simple random sampling. The key informants for interviews were 5 experts. The employed research instruments were a rating-scale questionnaire, with reliability coefficient of .99, and an interview form. Quantitative data were statistically analyzed using the frequency, percentage, mean, and standard deviation; while qualitative data were analyzed with content analysis. The research findings were as follows: (1) the overall rating mean for innovative leadership of the school administrators was at the moderate level; when specific aspects of innovative leadership of the school administrators were considered, the aspect receiving the top rating mean was that of teamwork; motivational educationalists; delegation/decentralization; ability to learn for creating innovation; vision to change; creating the atmosphere of innovation in school; risk taking and courageous decision; and creative thinking and imagination; and (2) the guidelines for development of innovative leadership of school administrators were as follows: (2.1) the school administrator needs to study general information and accept the social changes in the present time to apply useful knowledge to develop the vision of school; abiding the truth; (2.2) they should create individual developing plan and participate any academic activities; (2.3) they should easily adjust themselves in order to they can work with other personals as a team and deeply learns school works; (2.4) they should access new knowledge, information including various laws holding the accuracy of respective working; (2.5) they ought to apply the erudition about new innovation and technologies for their school and spread out it to others; (2.6) they ought to study from the successful origin of innovative and technology development to apply to use in the school, and look for new working thought in modern styles; (2.7) they should exchange their knowledge with others to learn how to motivate to personals; (2.8) they should learn the aptitudes and abilities for the sake of increasing efficiency of delegation and decentralization betteren_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_163284.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons