Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/702
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรเดช ประดิษฐบาทุกา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเฉลิมพล ศรีเจริญ, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-18T02:19:07Z-
dc.date.available2022-08-18T02:19:07Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/702-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตลุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลปัจจัยด้านสถานประกอบการและความคาดหวังต่อบริการจากโรงพยาบาลที่เป็นคู่สัญญาหลักของผู้ประกันตน กองทุนประกันสังคม ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี และ (2) เปรียบเทียบระดับความคาดหวังคุณภาพบริการในผู้ประกันตนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ที่มีปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยด้านสถานประกอบการต่างกัน กลุ่มตัวอย่าง 420 คน ได้จากการสุ่มแบบมีระบบจากผู้ประกันตน ที่ทำงานในสถานประกอบการ ที่มีผู้ประกันตน 20 คนขึ้นไปในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2550 ถึง 30 พฤศจิกายน 2550 เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งได้รับการทดสอบความเทียงแล้วเท่ากับ 0.9759 วิเคราะหข้อมูลด้วยร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบแบบที และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิงร้อยละ 71.2 อายุเฉลี่ย 30.09 ปี สภาวะสุขภาพแข็งแรง แต่มีเจ็บป่วยเล็กน้อยต้องไปพบแพทย์ 1-2 ครั้งต่อปี มากที่สุดร้อยละ 55.2 สถานภาพโสดมากที่สุดร้อยละ 53.6 รายได้เฉลี่ย 6,693 บาทต่อเดือน ระดับการศึกษาปริญญาตรี หรือสูงกว่า มากที่สุดร้อยละ 38.3 ส่วนใหญ่ทำงานในสถานประกอบการที่มีผู้ประกันตนมากกว่าร้อยคน ร้อยละ 56.7 ทำงานอยู่ในภาคการบริการมากที่สุด ร้อยละ 50.7 และส่วนใหญ่สถานประกอบการอยู่ในเขตเทศบาล ร้อยละ 81.2 ผู้ประกันตนมีความคาดหวัง ต่อ คุณภาพบริการในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านความเชื่อถือไว้วางใจได้ และการให้ความมั่นใจแก่ผู้รับบริการอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการ การตอบสนองต่อผู้รับบริการ ความเข้าใจเห็นอกเห็นใจผู้รับบริการอยู่ในระดับมาก (2) ระดับของความคาดหวังต่อการบริการในผู้ประกันตนที่มีอายุ และระดับการศึกษาต่างกันมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย โรงพยาบาลควรมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพในด้านความปลอดภัยของผู้ป่วย การให้การบริการตามสิทธิ การให้บริการโดยแพทย์เฉพาะทาง การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล การพัฒนาด้านเครื่องมือแพทย์ ห้องสุขา การสร้างจิตสำนึกด้านการบริการแก่แพทย์ การทบทวนการจัดบริการพิเศษแก่ผู้ประกันตนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประกันสังคมth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--การควบคุมคุณภาพth_TH
dc.subjectบริการทางการแพทย์--ไทยth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาลth_TH
dc.titleความคาดหวังต่อคุณภาพบริการจากโรงพยาบาลที่เป็นคู่สัญญาหลักของผู้ประกันตน กองทุนประกันสังคม ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeExpectation of service quality from main contractor hospital of beneficiaries under social security scheme in Mueang District, Udon Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were: (1) to study service quality expectation from main contractor hospital of beneficiaries under social security scheme in Mueng Distract, Udonthani Province (2) to compare level of expectation of service quality of beneficiaries under social security scheme in Mueng Distract, Udonthani Province who had different personal and work place properties The study sample were 420 beneficiaries in Mueng district, Udonthani province from systemic random sampling during October, 1st ,2007 to November,30,h2007.Data were collected by questionnaires with reliability coefficient of 0.9759 were used for data collection. Data were analyzed by percentage, means, standard deviation, t-test and one-way ANOVA The study results were (l)The respondents were 71.2% female. Average age was 30.09 years old. 55.2% were in good health but had to go to see doctor 1-2 time a year. Most of them were single (53.6%). Mean salary was 6,693 baht/month. 38.3% of the respondents held a bachelor degree a higher 56.7% of them work in work places with more than 100 workers. 50.7% of them work in service sector and most of them (81.2%) work in municipal area beneficiaries under social security scheme had high level of overall expectation. The expectation of reliability and assurance are in highest level. The expectation of tangible, responsiveness and empathy are in high level. (2) Level of expectation of beneficiaries who have different age and education had significant difference It was recommended that hospitals should emphasize on patient safety, services according to patient right, services by specialists, hospital accreditation, improving medical equipment, toilet, service mind of medical staff and revision of special services for beneficiariesen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108729.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons