Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7032
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณา ศิลปอาชา | th_TH |
dc.contributor.author | จิตพิสุทธิ์ ไหมสุวรรณ, 2533- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-30T08:12:25Z | - |
dc.date.available | 2023-06-30T08:12:25Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/7032 | en_US |
dc.description.abstract | การค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรเครื่องมือแพทย์ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลกรุงเทพในด้านการคงอยู่กับองค์การ ด้านความรู้สึกและด้านบรรทัดฐาน และ 2) ศึกษาปัจจัยด้านลักษณะส่วนบุคคล ปัจจัยด้านลักษณะส่วนบุคคล ปัจจัยด้านลักษณะขององค์การ และปัจจัยด้านประสบการณ์ที่ได้รับจากการทำงานที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรเครื่องมือแพทย์ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลกรุงเทพ การศึกษานี้เป็นการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ประชากรคือ บุคลากรเกรื่องมือแพทย์ที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงพยาบาลกรุงเทพ ทั้งหมด 47 คน ซึ่งใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติเชิงอนุมาน คือ การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน (t-Test) การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า 1) บุคลากรเครื่องมือแพทย์ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลกรุงเทพ มีระดับความผูกพันต่อองค์การ โดยรวมทุกคนอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายค้นพบว่า ด้านการคงอยู่กับองค์การ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านบรรทัดฐาน และด้านความรู้สึก และ 2) บุคลากรเครื่องมือแพทย์ที่มีอายุ 21-30 ปีมีระดับความผูกพันต่อองค์การสูงกว่าอายุ 31-40 ปี และผู้ที่มีประสบการณ์การทำงานที่แตกต่างกันมีระดับความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .5 ส่วนปัจจัยลักยณะส่วนบุคคลด้านเพศ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส และรายได้ต่อเดือนความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ปัจจัยด้านคุณลักษณะขององค์การ ปัจจัยด้านคุณลักษณะงาน และปัจจัยด้านประสบการณ์ที่ได้รับจากการทำงานมีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์กรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .5 มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน ในระดับสูงตามลำดับ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | โรงพยาบาลกรุงเทพ--พนักงาน | th_TH |
dc.subject | ความผูกพันต่อองค์การ | th_TH |
dc.subject | ความภักดีของลูกจ้าง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรเครื่องมือแพทย์ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลกรุงเทพฯ | th_TH |
dc.title.alternative | Organizational commitment of operational biomedical engineering staff in Bangkok Hospital | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were 1) to study the level of organizational commitment of biomedical engineering staff at Bangkok Hospital on relation to the existence of the organization, feeling and norm aspect; and 2) to study personal characteristics factors, job performance factors, organizational factors, and work experience factors obtained from working here related to the organizational commitment of biomedical engineering staff at Bangkok Hospital. This is a quantitative analysis study. The total population consisted of 47 operational biomedical engineering staff at Bangkok Hospital used for a sample group. A constructed questionnaire was used as an instrument for data collection. Descriptive statistics was used for data analysis including frequency, percentage, mean, and standard deviation. As for inferential statistics, the independent sample t-test, one-way ANOVA, and the Pearson Correlation Coefficient were employed. The results of the study revealed that 1) biomedical engineering staff at Bangkok Hospital had the level of organizational commitment in all aspects at a high level. Considering each aspect separately, it showed that continuation existence of organization was at the highest level, followed by norm aspect, while feeling was at the lowest level. 2) Biomedical engineering staff at Bangkok Hospital with 21-30 years of age had higher level of organizational commitment than those with 31-40 years of age. The staff with different working experience had different organizational commitment, with a statistical significance at the level of 0.5. Different personal characteristics, such as gender, level of education, marital status, and monthly income were different but with no statistical significance. In addition, factors like characteristics of organization, characteristics of the work itself, and experience from working here were related to the organizational commitment, with a statistical significance at 0.05 level. The relation was in the same direction at a high level respectively. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_162047.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License